ธรรมพุทธสุดลึก
|
คุณสมบัติของพระอรหันต์ ๘๑. เป็นพระอรหันต์ คือผู้ไกลจากกิเลส (อรหันตะ) (พระไตรปิฎก เล่ม ๑๙ อิจฉานังคลสูตร ข้อ ๑๓๖๗) |
โทษของผู้เที่ยวไปนาน ๘ โทษของภิกษุผู้เที่ยวไปนาน ไม่มีกำหนด คือ (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๒ ทีฆจาริกสูตรที่ ๑, ๒ ข้อ ๒๒๑, ๒๒๒) |
ธรรมวินัยน่าอัศจรรย์ ๘
|
ผลกรรมตามสนอง ๘๑. ผลกรรมแห่งการฆ่ามนุษย์และสัตว์ เบาสุดคือ มีอายุสั้น (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๓ สัพพลหุสสูตร ข้อ ๑๓๐) |
ลักษณะของพุทธธรรม ๘๑. คัมภีรา (ลึกซึ้ง) (พระไตรปิฎก เล่ม ๙ พรหมชาลสูตร ข้อ ๒๖) |
|
วิชชา ๘ วิชชาคือความรู้แจ้งในกิเลส ได้แก่ (พระไตรปิฎก เล่ม ๙ สามัญญผลสูตร ข้อ ๑๒๗-๑๓๘)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
วิธีแก้ง่วง ๘๑. ตั้งสัญญา (กำหนดหมายรู้) ไว้ในใจให้มาก ๆ (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๓ โมคคัลลานสูตร ข้อ ๕๘) |
วิโมกข์ ๘ คือสภาวะจิตหลุดพ้นจากกิเลส ๘ ขั้นตอน (พระไตรปิฎก เล่ม ๑๐ มหานิทานสูตร ข้อ ๖๖ และ เล่ม ๒๓ วิโมกขสูตร ข้อ ๑๖๓)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
หลักตัดสินธรรมวินัย ๘ นี้เป็นธรรมวินัย เป็นคำสั่งสอนของพระศาสดา
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
องค์คุณของพระโสดาบัน ๘เพราะอบายภูมิ ๔ สิ้นแล้ว หมดภัยเวร ๕ (คือถือศีล ๕ ได้บริสุทธิ์) อาริยสาวก จึงพยากรณ์ตัวเอง เป็นพระโสดาบันคือ - ส่วนที่ดับไปจากจิต ๑. ขีณนิรยะ (มีนรกสิ้นแล้ว, ปิดนรก ดับความเร่าร้อนได้) - ส่วนที่เกิดทางจิต ๕. โสตาปันนะ (เข้าสู่กระแสโลกใหม่คือโลกุตระ) (พระไตรปิฎก เล่ม ๑๙ คิญชกาวสถสูตรที่ ๒ ว่าด้วย |
อวิชชา ๘ ตามอวิชชาสูตร อวิชชาคือความหลงผิดไม่รู้กิเลส เกิดมาจาก ผลสัมพันธ์สืบต่อ เป็นลำดับ ดังนี้ (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๔ อวิชชาสูตร ข้อ ๖๑) |
อวิชชา ๘ ตามอกุศลเหตุของโมหะ และอวิชชาสวะคือความหลงผิด ที่หมักหมมอยู่ในสันดาน โดย.... ๘. ไม่รู้ในธรรมทั้งหลาย ที่อาศัยกันเกิดขึ้น เป็นห่วงโซ่ แห่งการเกิดทุกข์ หรือดับทุกข์ ตามหลัก ปฏิจจสมุปบาท / อิทัปปัจจยตา (พระไตรปิฎก เล่ม ๓๔ อกุศลเหตุของโมหะ ข้อ ๖๙๑ และ อาสวโคจฉกะ ข้อ ๗๑๒) |
อันตรายของกาม ๘กามเกิดย่อมเป็นอันตราย แก่ผู้ประพฤติธรรม กามเป็นบ่วงแห่งมาร (กิเลส) เป็นแดนแห่งมาร เป็นเหยื่อแห่งมาร เป็นที่หากินของมาร ๑. กามไม่เที่ยง (อนิจจา) (พระไตรปิฎก เล่ม ๑๒ จูฬทุกขักขันธสูตร ข้อ ๒๑๑ |
อาริยมรรค มีองค์ ๘ คือทางสายกลางอันประเสริฐ ๘ ประการ ที่เป็นข้อปฏิบัติ สู่ความเป็นอาริยะ (พระไตรปิฎก เล่ม ๑๔ มหาจัตตารีสกสูตร ข้อ ๒๕๒ ๒๘๑
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
พุทธสิกขา หมวด ๙นวังคสัตถุสาสน์ ๙ คือคำสอน ๙ อย่างของพระพุทธเจ้า (พระไตรปิฎกเล่ม ๒๒ ธรรมวิหาริสูตร ข้อ ๗๓)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม
|
เป้าหมายการประพฤติพรหมจรรย์ ๙ พระพุทธเจ้าอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ (บวช) (พระไตรปิฎกเล่ม ๒๑ พรหมจริยสูตร ข้อ ๒๕) |
พุทธคุณ ๙ คือคุณของพระพุทธเจ้า ๙ ประการ (พระไตรปิฎกเล่ม ๒๒ "มหานามสูตร" ข้อ ๒๘๑)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
วรรณะ ๙ คือการทำตัวเป็นคนน่ายกย่องสรรเสริญ ๙ อย่าง (พระไตรปิฎกเล่ม ๑ "ปฐมปาราชิกกัณฑ์" ข้อ ๒๐) |
สัตตาวาส ๙ คือภพที่อยู่ของสัตว์โลก ๙ พวก (พระไตรปิฎกเล่ม ข้อ ๓๕๓ และเล่ม ๒๓ ววัตถสัญญาสูตร ข้อ ๒๒๘) |
อขณะอสมัย ประพฤติพรหมจรรย์ ๙ แม้มีธรรมอันพระสุคต (พระพุทธเจ้า) ทรงประกาศไว้ แต่ก็มิใช่ขณะ มิใช่สมัย เพื่อประพฤติ พรหมจรรย์ ของบุคคลเหล่านี้ คือ (พระไตรปิฎกเล่ม ๑๑ "สังคีติสูตร" ข้อ ๓๕๔) |
อนุปุพพวิหาร ๙ คือธรรมอันเป็นเครื่องอยู่ตามลำดับ (พระไตรปิฎกเล่ม ๑๑ สังคีติสูตร ข้อ ๓๕๕)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
อานิสงส์ของศีล ๙ศีลที่เป็นกุศล ย่อมถึงอรหัตตผลโดยลำดับ ดังนี้ (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๔ "กิมัตถิยสูตร" ข้อ ๑) |
อาหาร ๙ ลำดับ (ตามตัณหาสูตร)๑. การไม่คบสัปบุรุษ เป็นอาหารของ การไม่ได้ฟังสัทธรรมที่ถูกต้อง (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๔ ตัณหาสูตร ข้อ ๖๒) |
อาหาร ๙ ลำดับ (ที่ทำให้วิชชาและวิมุตบริบูรณ์)๑. การคบสัตบุรุษที่บริบูรณ์ ย่อมทำให้ การฟังสัทธรรมที่บริบูรณ์ (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๔ อวิชชาสูตร ข้อ ๖๑) |
พุทธสิกขา หมวด ๑๐กถาวัตถุ ๑๐ คือเรื่องที่ควรพูด เพื่อการขัดเกลากิเลส (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๔ วัตถุกถาสูตร ข้อ ๖๙ ๗๐)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
กาลามสูตร ๑๐ พระพุทธเจ้าทรงสอนให้อย่าเชื่อถืออะไรง่าย ๆ (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๐ เกสปุตติสูตร ข้อ ๕๐๕)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
กุศลกรรมบถ ๑๐ คือหนทางแห่งการกระทำความดี (กุศล) ๑๐ ทาง (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๔ จุนทสูตร ข้อ ๑๖๕)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
สัมมัตตะ ๑๐
|
มิจฉัตตะ ๑๐
|
ทศพิธราชธรรม ๑๐ คือคุณธรรม ๑๐ ประการของผู้ปกครองบ้านเมือง (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๘ มหาหังสชาดก ข้อ ๒๔๐)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
ทุกข์ ๑๐ คือสภาพไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ทนได้ยาก มี..... ข. ทุกข์ที่เลี่ยงได้ (เจตสิกทุกข์ อันสามารถดับได้แท้) (พระไตรปิฎก เล่ม ๓๐ อชิตมาณวกปัญหานิทเทส ข้อ ๖๘ |
โทษของผู้อยู่ประจำที่ ๑๐โทษของภิกษุในการอยู่ประจำที่ คือ ๑. เป็นผู้ตระหนี่ (หวงไม่อยากให้) ที่อยู่ (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๒ อภินิวาสสูตร ข้อ ๒๒๓ และ เล่ม ๒๒ มัจฉรสูตร ข้อ ๒๒๔) |
ธรรมเป็นที่อยู่แห่งพระอาริยะ ๑๐ ประการ๑. ภิกษุในธรรมวินัยนี้เป็นผู้ละองค์ ๕ ได้แล้ว (คือ นิวรณ์ ๕ อันได้แก่ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ และวิจิกิจฉา) (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๔ อริยวสสูตร ข้อ ๑๙-๒๐) |
นาถกรณธรรม ๑๐ คือคุณธรรมที่ทำให้พึ่งตนเองได้ ทำให้อยู่เป็นสุข หากไม่มีธรรมอันเป็นที่พึ่ง ย่อมอยู่เป็นทุกข์ (พระไตรปิฎก เล่ม ๑๑ ข้อ ๓๕๗ และเล่ม ๒๔ นาถสูตร ข้อ ๑๗)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
เนื้อต้องห้าม ๑๐๑. เนื้อมนุษย์ (พระไตรปิฎก เล่ม ๕ ช้อ ๕๙-๖๐) |
บารมี ๑๐ คือคุณความดียิ่งที่กระทำสั่งสมมา ๑๐ อย่าง (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๘ มหานิบาตชาดก ข้อ ๓๙๔-๑๐๕๑
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คือเรื่องของการทำบุญ (เครื่องชำระกิเลส) ๑๐ วิธี (พระไตรปิฎก เล่ม ๑๑ สังคีติสูตร ข้อ ๒๒๘
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
ประโยชน์ของ การบัญญัติสิกขาบท ๑๐ พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติข้อศีลข้อวินัย (พระไตรปิฎก เล่ม ๑ ทุติยปาราชิกกัณฑ์ ข้อ ๘๔)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม ก. ว่าด้วยประโยชน์แก่สงฆ์หรือส่วนรวม ๑. สงฺฆสุฏฺฐุตาย (เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ คือ เพื่อความเรียบร้อย ดีงามแห่งสงฆ์ ซึ่งได้ทรงชี้แจง ให้มองเห็นคุณโทษ แห่งความประพฤตินั้น ๆ ชัดเจนแล้ว จึงทรงบัญญัติสิกขาบท ขึ้นไว้โดย ความเห็นร่วมกัน) ข. ว่าด้วยประโยชน์แก่บุคคล ๓. ทุมฺมงฺกูนํ ปุคฺคลานํ นิคฺคหาย (เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อยาก คือ เพื่อกำราบ คนผู้ด้าน ประพฤติทราม) ค. ว่าด้วยประโยชน์แก่ความบริสุทธิ์ หรือแก่ชีวิต ทั้งทางกายและทางใจ ๕. ทิฏฺฐธมฺมิกานํ อาสวานํ สํวราย (เพื่อปิดกั้นอาสวะ ทั้งหลาย อันจะบังเกิด ในปัจจุบัน คือ เพื่อระงับปิดทางความเสื่อมเสีย ความทุกข์ ความเดือดร้อน ที่จะมีในปัจจุบัน) ง. ว่าด้วยประโยชน์แก่ประชาชน ๗. อปฺปสนฺนานํ ปสาทาย (เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส) จ. ว่าด้วยประโยชน์แก่พระศาสนา ๙. สทฺธมฺมฏฺฐิติยา (เพื่อความตั้งมั่นแห่งสัทธรรม) |
ประโยชน์ของข้าวยาคู ๑๐ ข้าวยาคูคือ ข้าวต้มที่ทำอย่างซดได้ ดื่มได้ (พระไตรปิฎก เล่ม ๕ เภสัชชขันธกะ ข้อ ๔๙, ๖๑) |
มิจฉาทิฏฐิ ๑๐ . . ไม่มีผลต่อปุญญาภาคียะ๑. ทานที่ให้แล้ว ไม่มีผล (กิเลสไม่ลด) (นัตถิ ทินนัง) (พระไตรปิฎก เล่ม ๑๔ มหาจัตตารีสกสูตร ข้อ ๒๕๕) |
มูลสูตร ๑๐ มูลเหตุแห่งธรรมทั้งปวง (รากเหง้าทั้งปวง มีอะไร เป็นอะไร) คือ (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๔ มูลสูตร ข้อ ๕๘) |
วิปัสสนูปกิเลส ๑๐ คือญาณที่ยังข้องด้วยอุปกิเลส (เครื่องเศร้าหมอง) ของการวิปัสสนา (การพิจารณา รู้แจ้งเห็นจริง) (พระไตรปิฎก เล่ม ๓๑ ยุคนัทธกถา ข้อ ๕๔๒)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
ศรัทธา ๑๐ ธรรม ๑๐ ประการนี้ก่อเกิดความเลื่อมใสโดยรอบ (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๔ สัทธาสูตร ข้อ ๘) |
สัญญา ๑๐คือความกำหนดหมายรู้ ๑๐ ประการ (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๔ "มูลสูตร" ข้อ ๖๐) |
สัมมาทิฏฐิ ที่เป็นสาสวะ ๑๐ คือความเห็นถูกต้อง ที่ยังมีกิเลสหมักหมมในสันดาน (พระไตรปิฎก เล่ม ๑๔ มหาจัตตารีสกสูตร ข้อ ๒๕๗) |
อกุศลกรรมบถ ๑๐ (ทางทำความชั่ว)๑. ปาณาติบาต (ฆ่าสัตว์) (พระไตรปิฎก เล่ม๑๐ ปายาสิราชัญญสูตร ข้อ ๓๐๓) |
อนุสสติ ๑๐ คือธรรมอันเป็นเอก เพื่อนิพพาน (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๐ เอกธัมมาทิบาลี ข้อ ๑๗๙-๑๘๐)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
อภิณหปัจจเวกขณ์ ๑๐ คือธรรมที่นักบวชควรพิจารณาเนือง ๆ ๑๐ ประการ (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๔ อภิณหปัจจเวกขณธรรมสูตร ข้อ ๔๘)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
อานิสงส์ของศีล ๑๐ ศีลที่เป็นกุศล ย่อมถึงอรหัตตผลโดยลำดับ |
|
ปฏิจจสมุปบาท (อนุโลม) ๑๑ คือการอาศัยกันและกันเกิดขึ้น (เป็นไปตามลำดับ) (พระไตรปิฎก เล่ม ๔ มหาขันธกะ ข้อ ๑ และเล่ม ๑๖ เทศนาสูตร ข้อ ๒)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
|
|
พุทธสิกขา หมวด ๑๒กรรม ๑๒ คือการกระทำดีก็ตาม ชั่วก็ตาม ย่อมมีผล (อรรถกถาแปลเล่ม ๖๙ กรรมกถา หน้า ๔๒๐-๔๒๑)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
พุทธสิกขา หมวด ๑๓ธุดงค์ ๑๓ คือองค์คุณเครื่องกำจัดกิเลส (พระไตรปิฎกเล่ม ๘ ธุดงควรรค ข้อ ๑๑๙๒)
ข้อมูลเพิ่มเติมจาก พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม ข้อควรทราบเพิ่มเติมเกี่ยวกับธุดงค์ ๑๓
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
พุทธสิกขา หมวด ๑๔ชายเทวดา / หญิงเทวดา ๑๔ คือชายหญิงที่มีจิตใจสูง มีลักษณะดังนี้ (พระไตรปิฎกเล่ม ๒๑ สังวาสสูตร ข้อ ๕๔) |
ชายผี / หญิงผี ๑๔ คือชายหญิงที่เป็นคนเลว มีลักษณะต่าง ๆ (พระไตรปิฎกเล่ม ๒๑ สังวาสสูตร ข้อ ๕๔) |
พุทธสิกขา หมวด ๑๕จรณะ ๑๕ คือข้อประพฤติปฏิบัติเพื่อบรรลุธรรม (วิชชา ๓) หรือข้อประพฤติ ไปนิพพาน ได้แก่ อปัณณกปฏิปทา ๓ สัทธรรม ๗ ฌาน ๔ (พระไตรปิฎกเล่ม ๑๓ เสขปฏิปทาสูตร ข้อ๒๗ ๓๒,๓๔)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม ๔. ฌาน ๔ |
พุทธสิกขา หมวด ๑๖คนว่ายากสอนยาก ๑๖ คือคนที่ไม่อดทน ไม่รับคำสอนโดยเคารพ มีนิสัย... |
เจโตปริยญาณ ๑๖ คือความรู้รอบถ้วนในสภาวะต่างๆของจิต ๑๖ อาการ (พระไตรปิฎกเล่ม ๙ อัมพัฏฐสูตร ข้อ ๑๖๓) |
วิปัสสนาญาณ ๑๖ (โสฬสญาณ) คือความรู้แจ้งเห็นจริงตามลำดับของการวิปัสสนา (พระไตรปิฎกเล่ม ๓๑ มาติกา และ พระวิสุทธิมัคค์ ปัญญานิเทศ หน้า ๕๔๐-๖๕๖)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
อานาปานสติ ๑๖ นั่งคู้บังลังก์ (ขัดสมาธิ) ตั้งกายตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้า ๑. รู้ชัดหายใจเข้ายาว หายใจออกยาว (พระไตรปิฎกเล่ม ๑๔ อานาปานสติสูตร ข้อ ๒๘๘) |
อุปกิเลส ๑๖ คือกิเลสที่ทำให้จิตเศร้าหมอง ๑๖ อย่าง (พระไตรปิฎกเล่ม ๑๒ วัตถูปมสูตร ข้อ ๙๓)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
นามรูป ๓๓คือนาม (ตัวที่เข้าไปรู้) และ รูป (สิ่งที่ถูกรู้) เกิดเพราะวิญญาณ (ความรับรู้) เป็นปัจจัย (เหตุ) นาม ๕ คือ ตัวผู้รู้ หรือ สภาวะรู้ที่เข้าไปสัมผัสกับรูปนั้นๆ นามเป็นสิ่งที่ไม่มีรูปร่าง ไม่อาจรู้ได้ด้วยตา หู จมูก ลิ้น กาย แต่รู้ได้ด้วยใจ ๑. เวทนา (ความรู้สึก) รูป ๒๘ คือ สิ่งที่ถูกรู้ หรือ สภาวะที่นามเข้าไปรู้สึกนั้น - มหาภูตรูป ๔ คือรูปที่เป็นวัตถุภายนอก - อุปาทายรูป ๒๔ คือ รูปที่อาศัย เกิดจากมหาภูตรูป ก. ปสาทรูป (รูปที่มีประสาทเป็นตัวรับรู้อารมณ์) ข. โคจรรูป หรือ วิสัยรูป๔ (สภาพเป็นอยู่ของรูปที่ถูกรู้) ค. ภาวรูป ๒ (รูปที่ปรากฏเครื่องชี้ความแตกต่าง) - ง. หทัยรูป ๑ (รูปที่เป็นจิตใจ จิตวิญญาณ) - จ. ชีวิตรูป ๑ (รูปที่มีชีวิตความเป็นอยู่) - ฉ. อาหารรูป ๑ (รูปที่เป็นอาหาร) - ช. ปริจเฉทรูป ๑ (รูปที่กำหนดตัดรอบขอบเขต) - ญ. วิญญัติรูป ๒ (รูปที่เป็นการเคลื่อนไหว สื่อความหมาย) - ฎ. วิการรูป ๓ (รูปที่แสดงอาการผันแปรไป) - ฏ. ลักษณะรูป ๔ (รูปที่เป็นลักษณะอาการต่างๆ) (พระไตรปิฎก เล่ม ๓๔ "รูปวิภัตติ" ข้อ ๕๑๕-๕๓๘ |
โพธิปักขิยธรรม ๓๗ คือธรรมอันเป็นแนวทางแห่งความตรัสรู้ (พระไตรปิฎกเล่ม ๑๑ ปาสาทิกสูตร ข้อ ๑๐๘)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม |
มงคล ๓๘ คือความดีความเจริญอันสูงสุด ๓๘ ประการ หากเทวดา (ผู้มีใจสูง) และมนุษย์ (ผู้มีใจประเสริฐ) ทำมงคลเช่นนี้แล้ว จะเป็นผู้ ไม่พ่ายแพ้ ต่อข้าศึก ทุกหมู่เหล่า ย่อมถึง ความสวัสดี ในที่ทุกสถาน (พระไตรปิฎกเล่ม ๒๕ มงคลสูตร ข้อ ๓๑๘)
จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ประมวลธรรม คาถาที่ ๑ คาถาที่ ๒ คาถาที่ ๓ คาถาที่ ๔ คาถาที่ ๕ คาถาที่ ๖ คาถาที่ ๗ คาถาที่ ๘ คาถาที่ ๙ คาถาที่ ๑๐ แต่ละคาถามีบทสรุปว่า "เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ" (นี้เป็นมงคลอันอุดม) |
เวทนา ๑๐๘คือสภาวะของอารมณ์ความรู้สึกต่างๆ แบ่งเป็น.... เวทนา ๒ เวทนา ๓ เวทนา ๕ เวทนา ๖ เวทนา ๑๘ ๒. ทุกขเวทนาแบบ โทมนัสสูปวิจาร ๖ เป็นความรู้สึกเสียใจ ๖ ประการ ๓. อารมณ์เฉย ๆ ที่เป็น อุเปกขูปวิจาร ๖ เวทนา ๓๖ ๒. เนกขัมมสิตเวทนา ๑๘ เวทนา ๑๐๘ (พระไตรปิฎกเล่ม ๑๘ อัฏฐสตปริยายสูตร ข้อ ๔๓๑-๔๓๗) ธรรมพุทธสุดลึก พุทธสิกขา หมวด ๑-๔ พุทธสิกขา หมวด ๕-๗ |