แนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีการใช้จุลินทรีย์
ที่ควรได้รับความสนใจ และ ส่งเสริมการใช้ ในการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง
ในโครงการเกษตรปลอดสารพิษ เพื่อความสำเร็จ และ ความยั่งยืน
ของเกษตรอินทรีย์
1.
ปุ๋ยชีวภาพ
ในกลุ่มนี้มีจำนวนจุลินทรีย์เป็นจำนวนมาก
ที่ควรได้รับความสนใจ ในการวิจัย และ พัฒนา เพราะเป็นการปรับปรุงบำรุงดิน
ในลักษณะยั่งยืน
เทคโนโลยีชีวภาพด้านจุลชีววิทยา
ที่ใช้ ในการเกษตรอินทรีย์
จุลินทรีย์ ที่ใช้เป็นปุ๋ยชีวภาพ
ปุ๋ยชีวภาพ ที่ให้ไนโตรเจน
กลุ่ม ของจุลินทรีย์
|
ประเภท และ ชื่อ
|
จุลินทรีย์ ที่สามารถตรึงไนโตรเจนได้
- อยู่ อย่างอิสระ
|
ก. สาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียว (Anabaena, Nostcc,
etc)
ข. แบคทีเรีย (Azotobacter, Azospirillum, Rhodopseudomonas)
|
- อยู่ร่วม กับพืชอื่น
|
ก. สาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียว (Azolla-Anabaena
azollae)
ข. แบคทีเรีย (Rhizobium sp.)
|
ปุ๋ยชีวภาพ ที่ให้ฟอสฟอรัส
กลุ่ม ของจุลินทรีย์
|
ประเภท และ ชื่อ
|
จุลินทรีย์ ที่ละลายหินฟอสเฟต
- free living
|
ก. แบคทีเรีย (Bacillus sp., Scherichia freundii,
Pseudomonaa ap. Etc.)
ข. ฟังไจ (Aspergillus sp., Penicilium sp., Fusarium
oxysporum etc.)
|
- symbiosis
|
ก. ฟังไจ (Mycorrhizal fungi)
- Vescicular-Arbuscular Mycorrhizae
- Ectomycorrhizae
|
2.
จุลินทรีย์เร่งการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุ
กลุ่มนี้ใช้ ในการผลิตปุ๋ยหมัก
และ สารสกัด
กลุ่ม ของจุลินทรีย์
|
ประเภท และ ชื่อ
|
จุลินทรีย์ ที่ย่อยสลายอินทรีย์วัตถุ
|
Trichoderma viride, Chaetomium abuanse, Myrothecium
roridum, Aspergillus niger, A. terreus, Cellulomonas.,
Cytophaga sp., Bacillus sp. Etc.
|
3. จุลินทรีย์ ที่ป้องกันพืช
และ กำจัดวัชพืช
- กำจัดแมลง
- กำจัดโรคพืช
- กำจัดวัชพืช
กลุ่ม ของจุลินทรีย์
|
ประเภท และ ชื่อ
|
1.
จุลินทรีย์ ที่กำจัดแมลงศัตรูพืช |
ก. ไวรัส (DNA viruses, RNA viruses)
ข. แบคทีเรีย (Bacillus thuringiensis,B. popilliae,
B. lentimorbus,
B. sphaericus etc.)
ค. ฟังไจ (Entomophthora, Masospora, Cordyceps,
Aschersonia etc.
ง. โปรตัวซัว (Nosema locstae, N. bombycis etc.)
จ. ไส้เดือนฝอย (Neosplectona, Carpocasae, Romanomernos
culicivorax, etc.)
|
2.
จุลินทรีย์ ที่ควบคุมโรคพืช |
a) Bacteroal Pathogens Control (Agrobacteroum
radiobacter, Pseudomonas fluorescens, Streptomyces
scabiobies etc.)
b) Fungal Pathogens Conteol (Peniophora giganta,
Pseudomonas fluorescens etc.)
c) Nematode Pathogens Control (Bacillus Penetrain,
Nematophthora gymophilla, etc.)
|
3.
จุลินทรีย์ ที่ควบคุมวัชพืช |
Cercospora
rodmanoo, Celletotrichum glocoaporipeds, Puccinia
chroundrillina etc.) |
4. จุลินทรีย์ ที่ผลิตสารปฏิชีวนะ
- ป้องกันโรค และ แมลงกำจัดศัตรูพืช
กลุ่ม ของจุลินทรีย์
|
ประเภท และ ชื่อ
|
1.
เชื้อรา ที่ผลิตสารปฏิชีวนะ |
Cyclohexinide
(Streptomyces griseus) Blasticidins
(S. griseochromogenes) Polyoxins (S. cacaoi) |
2.
แบคทีเรีย ที่ผลิตสารปฏิชีวนะ |
Streptomycin
(S. griseus) Oxytetracycline (S. viridifaciens) |
3. แมลง ที่ผลิตสารปฏิชีวนะ
|
Tetranactin (S. aureus)
|
5. จุลินทรีย์ ที่ใช้
ในด้านสิ่งแวดล้อม
เพื่อลดมลภาวะทางกลิ่นจากคอกสัตว์
และ ใช้ปรับคุณภาพน้ำ ในบ่อกุ้ง
6. จุลินทรีย์ ที่ใช้ประโยชน์
ในด้านอื่นๆ
กลุ่ม ของจุลินทรีย์
|
ประเภท และ ชื่อ
|
1.
เป็นอาหารมนุษย์ และ สัตว์ |
ก. สาหร่าย และ แพลงตอน (Sprieulina,
Nostoc etc.)
ข. ยีสต์
ค. โปรตีนจากเห็ดรา (Fusarium graminearum,
Choetomium cellulolyticum)
|
2. ใช้ในการวิเคราะห์
|
ก. สาหร่าย (Pullutanis)
ข. แบคทีเรีย (Amino acids, Vitamins, Pollutanis)
|
|