โครงสร้างหลักสูตร
[1] โครงการพัฒนาศักยภาพชีวิตเกษตรกร
[2] ระเบียบการในการเข้าฝึกอบรม 4
- การรับสมัคร
และลงทะเบียน
- ธรรมนูญสัจธรรมชีวิต
- การเตรียมอุปกรณ์ในการพักค้างระหว่างฝึกอบรม
- การพักค้างคืน
- อาหาร
- การแต่งกาย
- วัฒนธรรมชุมชนบุญนิยม
[3] อุดมการณ์
และปรัชญาของศูนย์ฝึกอบรม
[4] หลักสูตรสัจธรรมชีวิต
หลักการ
วัตถุประสงค์
ความคิดรวบยอด
เนื้อหา
และกิจกรรม
การดำเนินการอบรม
การประเมินผล
[5]
กฎระเบียบพื้นฐาน
[6] บัญชีสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ สิ่งปลูกสร้าง
[7] แผน และ คู่มือการฝึกอบรม
[8] ตารางการอบรม
เนื้อหา และกิจกรรม
1. วิชาการ
(1) ปฐมนิเทศ, (2) จุดประกาย,
(3) ระบบนิเวศ,
(4) กระบวนการกู้ชาติ,
(5) รายการภาคค่ำ, (6) อาหารคือยา
2. ปฏิบัติ
(7) ปฏิญาณตน, (8) สวดมนต์ทำวัตรเช้า,
(9) ฟังธรรม, (10) สวดมนต์-นั่งสมาธิ,
(11) เรียนรู้ด้วยการกระทำ,
(12) รับประทานอาหาร,
(13) ล้างจานล้างใจ,
(14) ฝึกงานสัมมาอาชีพ,
(15) ปฏิบัติการไอ เอ็ม โอ,
(16) เพาะถั่วงอก,
(17) ค้นหากิจกรรมพัฒนาตนเอง
3. สาระบันเทิงและนันทนาการ
(18) เตรียมความพร้อม, (19) คบคุ้นอุ่นใจ,
(20) วัฒนธรรมชุมชน, (21) พัฒนาภาวะผู้นำ,
(22) วิปัสนาจอแก้ว, (23) ละครเพลง
4. สำนึกกตัญญู
5 ส.
(24) การจัดระเบียบตนเอง,
(25) การจัดระเบียบบ้านพัก และบริเวณ,
(26) การซักล้าง, (27) ประเมินผล 5 ส.
5. บริหารจิต
บริหารกาย
(28) กิจกรรมหน้าเสาธง,
(29) ปลุกจิตสำนึก บริหารกาย
6. ร้อยดวงใจ
(30) เลือกผู้รับใช้,
(31) ซื้อของ ใส่บาตร ทำบุญ,
(32) เปิดใจก่อนจาก, (33) พิธีอำลา
7. ประชุมคนสร้างชาติ
(34) ประชุมคนสร้างชาติ
|
โครงการพัฒนา
ศักยภาพชีวิตเกษตรกร ได้จัดลำดับความสำคัญของ หลักสูตร ออกเป็น 3 ระดับ
คือ
1.
หลักสูตร สัจธรรมชีวิต เป็นหลักสูตรพื้นฐาน ที่ทุกคนต้องผ่านหลักสูตรนี้ก่อน
โดยมีจุดมุ่งหมายว่า ธรรมะเป็นเรื่องหลัก อาชีพเป็นเรื่องรอง และเพื่อให้ชาวเกษตรกร
รวมกลุ่มกันเป็นพลังในการสร้างอาชีพใหม่ ที่พึ่งตนเองได้ ตามหลักสัจธรรมชีวิต
2.
หลักสูตร สร้างอาชีพ เป็นการพัฒนาอาชีพ ที่ยั่งยืน ให้แก่เกษตรกร
ภายใต้ระบบบุญนิยม
3.
หลักสูตร สร้างผู้นำ เป็นหลักสูตรฝึกอบรมภาวะความเป็นผู้นำ ให้แก่ผู้บริหารองค์กร
กลุ่มบุคคล ทุกระดับ เพื่อสร้างวัฒนธรรมชุมชนใหม่ ให้มีเศรษฐกิจพึ่งตน
ชุมชนเข้มแข็ง ประชามีธรรม ประเทศมีไท
หลักสูตรสัจธรรมชีวิต
เป็นบทบาทหนึ่งที่จะพลิกผันวิถีชีวิตของเกษตกร จากการพึ่งพาผู้อื่น
จากความเป็นทาสเศรษฐกิจทุนนิยม และจากวัฒนธรรมที่เสื่อมโทรม มาเป็นชีวิตพัฒนาไปสู่การพึ่งพาตนเองได้
โดยการประกอบสัมมาอาชีพ การศึกษา และวัฒนธรรม ให้รู้เท่าทัน ความเป็นจริงของระบบทุนนิยมบริโภคนิยม
ที่มีแต่สร้างความหายนะให้แก่สังคม และโลก
ดูกิจกรรมรายวัน
การดำเนินการอบรม
1. บุคลากร
(1) ประธานศูนย์ฝึก, (2) ผู้อำนวยการศูนย์ฝึก,
(3) เจ้าหน้าที่ธุรการ, (4) ผู้ประสานงาน,
(5) พิธีกร, (6) นันทนากร, (7) ปฏิบัติกร,
(8) พี่เลี้ยง, (9) ผู้เข้ารับการอบรม,
(10) ผู้กำกับเวที, (11) เจ้าหน้าที่โสตทัศนูปกรณ์,
(12) เจ้าหน้าที่ศิลปกรรม, (13) เจ้าหน้าที่บันทึกภาพ,
(14) นักวิชาการ, (15) เจ้าหน้าที่พัสดุ และการเงิน,
(16) เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย,
(17) เจ้าหน้าที่บริการ 5 ส.,
(18) เจ้าหน้าที่เอกสารและสิ่งพิมพ์,
(19) จ้าหน้าที่ต้อนรับ และลงทะเบียน,
(20) ผู้จัดการที่พัก, (21) ผู้จัดการของที่ระลึก,
(22) แม่ครัว, (23) เจ้าหน้าที่บริการอาหารและเครื่องดื่ม,
(24) เจ้าหน้าที่พยาบาล, (25) เจ้าหน้าที่ ธกส.,
(26) เจ้าหน้าที่ประเมินผล, (27) เจ้าหน้าที่ข้อมูล
2. เทคนิคการฝึกอบรม
การบรรยาย, การอภิปราย, การสัมภาษณ์,
การสาธิต, การแสดงบทบาทสมมุติ, การแสดงละคร,
การสร้างเจตนคติ และค่านิยม,
การตัดสินใจแบบวิปัสนา
การประเมินผล
1. เกณฑ์การประเมินผล
ศีลเด่น เป็นงาน ชาญชีวิต
2. การติดตามผล
3. ตรงเวลาและพร้อมเพียง
4. ตอบแบบประเมินผล
แบบประเมินผลคนของแผ่นดิน หมายเลข 1, 3, 4, 6
5. ประเมินกิจกรรมสำนึกกตัญญู
5 ส.
แบบประเมินผลคนของแผ่นดิน หมายเลข 2
6. ประเมินคุณภาพบุคลากรศูนย์ฝึก
แบบประเมินผลคนสร้างชาติ หมายเลข 5
|