หน้าแรก >[04] กสิกรรม > คกร. > หลักสูตรสัจธรรมชีวิต |
สารบัญ | โครงการ | ระเบียบการ | อุดมการณ์-ปรัชญา | หลักสูตร | เนื้อหา-กิจกรรม | ดำเนินการอบรม | ประเมินผล | กฎระเบียบพื้นฐาน | สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ | แผน-คู่มือฝึกอบรม แผน-คู่มือฝึกอบรม 1-2-3-4-5-6-7 |
วันที่ 1 / 5 |
|||||||||
วดป. (วันที่ 1) |
เนื้อหา กิจกรรม วัตถุประสงค์ | วัสดุ อุปกรณ์ สถานที่ | ผู้รับผิดชอบ | ชื่อ | วิธีการ ฝึกอบรม | ประเมินผล | |||
[ก-1] ปฐมนิเทศ -แนะนำสถานที่ชุมชน / พุทธสถาน -แนะนำคณะกรรมการชุมชน |
-โสตทัศนูปกรณ์ [ส-2 (1), (3), (4)] -คู่มือการฝึกอบรม สัจธรรมชีวิต [ส-9] -โปรแกรมแนะนำศูนย์ฝึก [ส-10] |
-สมณะ -ผู้อำนวยการ ฝึกอบรม |
บรรยาย ประกอบสื่อ |
-สังเกต -สัมภาษณ์ -ตอบแบบสอบ ถาม |
|||||
[1] แนะนำชุมชนศาลีอโศก และ พุทธสถานศาลีอโศก |
เพื่อให้รู้จักประวัติความเป็นมาของชุมชน และพุทธสถานพอสังเขป และคุ้นเคยกับสถานที่ สร้างความเลื่อมใสศรัทธาในขั้นต้น | ||||||||
[2] แนะนำคณะกรรมการชุมชน |
เพื่อให้เกิดความคุ้นเคย มั่นใจ และไว้วางใจ กับบุคคล ตลอดเวลาที่อยู่พักอาศัย | ||||||||
[3] แนะนำวัฒนธรรมชุมชนบุญนิยม 12 ประการ |
เพื่อให้รู้สำนึก ฝึกตน ลด ละ ขัดเกลา นำไปสู่ความประพฤติที่ดีงาม | ||||||||
[4] เรียนรู้ รหัสสัญญาณเสียง ในการเรียกเข้าห้องเรียน
|
เพื่อให้การฝึกอบรมดำเนินไปตามที่กำหนดไว้ในตารางเวลา สร้างความกระตือรือร้นให้แก่ผู้เข้ารับการอบรม | ||||||||
[5] อธิบายความหมายของคำเรียกขาน คำว่า สมณะ
พุทธสถาน ปฏิบัติกร ผู้รับใช้ คนของแผ่นดิน |
เพื่อสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้จัดอบรม กับผู้เข้ารับ การอบรม | ||||||||
[6] อธิบาย ความหมายและวิธีปฏิบัติ ธรรมนูญสัจธรรมชีวิต อุดมการณ์และปรัชญาของศูนย์ฝึกอบรม |
เพื่อให้เกิดความชื่นชม เห็นคุณค่าของศีล และรู้สึกพึงพอใจที่จะประพฤติตาม | ||||||||
[7] แนะนำระเบียบการพักค้างในชุมชน การรับประทาน อาหาร การแต่งกาย |
เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบในการกิน อยู่ หลับนอน และการพักอาศัย | ||||||||
[8] อธิบาย วัตถุประสงค์ของหลักสูตรสัจธรรมชีวิต
การวัดผล การประเมินผล ของหลักสูตรนี้ ตลอดจนกฎระเบียบ |
เพื่อให้เกิดสัมมาทิฏฐิ ในการแก้ปัญหาวิกฤติของชาติ (ปัญหาเกษตรกร ปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ศาสนา การศึกษา และวัฒนธรรม) และมีกำลังใจพร้อมที่จะเข้ารับการฝึกอบรม | ||||||||
วดป. (วันที่ 1) |
[ก-7] ปฏิญานตน -ปฏิญาณตน รักษาศีล 5
ผู้เรียนกล่าวคำปฏิญาณตน รักษาศีล 5 และ กฎระเบียบ
|
เพื่อสร้างสัมมาทิฏฐิ และกำหนดแนวปฏิบัติ ในระหว่างการฝึกอบรม ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน | คำปฏิญาณตน รักษาศีล 5 [ส-11] | สมณะ | -กล่าวนำ -อธิบายความ หมาย |
-สังเกต -พร้อมเพรียง -สงบ-ศีลเด่น |
|||
วดป. (วันที่ 1) |
[ก-12] รับประทานอาหาร (มื้อกลางวัน วันที่ 1)
1. ตักอาหาร [1] ผู้เรียนลุกยืนเป็นแถว เดินไปตักอาหารที่โต๊ะอาหารที่จัดไว้ให้ แล้วกลับไปนั่งรอยังที่นั่งของตน [2] พิธีกรแนะนำ รายการอาหารแต่ละมื้อ คุณค่าของอาหารในมื้อนั้น และแนะนำ วิธีล้างจานที่ถูกต้องตามวัฒนธรรมบุญนิยม ตลอดจนบอกเกณฑ์การวัดผลในการรับประทานอาหาร คือ กินให้หมด งดเสียงดัง ลุกนั่งก็สะอาด [3] พิธีกรกล่าวนำพิจารณาอาหาร (หลังสมณะพิจารณาอภิณหปัจจเวกขณ์เสร็จเรียบร้อยแล้ว |
เพื่อจัดระเบียบการรับประทานอาหารของผู้เรียน และเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และตระหนัก ในคุณค่าของอาหารมังสวิรัติ ตลอดจนให้ความสำคัญต่อชาวนา และพ่อครัว แม่ครัว |
โสตทัศนูปกรณ์ |
-พิธีกร |
ชุดที่ 1 |
บรรยาย ประกอบสื่อปฏิบัติให้ดูเป็น ตัวอย่าง |
กินให้หมด งดเสียงดัง ลุกนั่งก็สะอาด (ไม่เหลือเศษ อาหารทิ้ง สงบ ไม่มีเสียงดัง ไม่หกเลอะหรือ ไร้ระเบียบ) |
||
วดป. (วันที่ 1) |
[ก-13] ล้างจาน ล้างใจ
- แยกขยะเศษอาหาร [1] ผู้เรียนรับประทานอาหารเสร็จแล้ว ก่อนลุกไปล้าง ให้กราบลาพระสงฆ์ก่อน 1 ครั้ง ไปเข้าแถวรอล้างจานในสถานที่จัดไว้ให้ [2] ล้างตามขั้นตอน แยกเศษอาหาร (ถ้ามี) ลงถังขยะ ใช้ฟองน้ำในถาด เช็ดคราบอาหารในจาน แล้วนำภาชนะไปจุ่มน้ำเปล่าที่กะละมังใบแรก (ใบใหญ่) ล้างในกะละมังน้ำซักใบที่ 2 แล้วล้างน้ำเปล่าในกะละมังใบที่ 3 4 5 6 ตามลำดับ [3] เสร็จแล้วเช็ดภาชนะให้แห้ง และนำไปเก็บเข้าที่ |
เพื่อให้ผู้เรียน รู้จักวิธีล้างจาน เป็นการสร้างวัฒนธรรมใหม่ของชาวบุญนิยม |
ชุดอุปกรณ์ล้างจาน [ส-22] |
-พิธีกร -เจ้าหน้าที่ -พี่เลี้ยง -เจ้าหน้าที่ -หัวหน้ากลุ่ม |
ชุดที่ 1 |
-สาธิต แนะนำ -ทำตัวอย่างให้ดู |
-ไม่เหลือเศษ อาหารทิ้ง-น้ำแรกไม่ สกปรก-ล้างตามขั้นตอน-แยกขยะได้ ถูกต้อง-เป็นงาน |
||
วดป. (วันที่ 1) |
[ก-2] จุดประกาย (โดย ธกส.) - ประวัติความเป็นมาของโครงการพักหนี้เกษตรรายย่อย
3 ปี
อธิบายเกี่ยวกับ ประวัติความเป็นมาของโครงการพักหนี้เกษตรรายย่อย 3 ปี วัตถุประสงค์ และเป้าหมายของโครงการ และการประเมินผลหลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม ตามกำหนด |
เพื่อให้เข้าใจตรงกัน ในระเบียบปฏิบัติ และข้อกำหนดต่างๆ อันเป็นพันธสัญญาที่ต้องปฏิบัติระหว่าง ธกส. กับ เกษตรกร ผู้เข้ารับการอบรม |
โสตทัศนูปกรณ์ |
-พิธีกร -เจ้าหน้าที่ ธกส. |
บรรยาย ประกอบสื่อ |
-สังเกต-ไม่คุยเสียงดัง-ไม่แอบหนีกลับ ไปบ้าน-พร้อมเพรียง |
|||
วดป. (วันที่ 1)
กิจกรรมแทรกตามควาเหมาะสม ไม่จำกัด |
[ก-18] เตรียมความพร้อม
เตรียมความพร้อมก่อนเข้าเรียนประจำฐาน หรือก่อน [1] เปิดเสียงเพลงคนสร้างชาติ ออกเสียงตามสาย เป็นสัญลักษณ์เรียกผู้เรียนให้เข้าห้องเรียน [2] สาธิตการปรบมือ การเปล่งเสียง การแสดงท่า ตามจังหวะ แล้วผู้เรียนปฏิบัติตาม เป็นชุด |
เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้เรียน ก่อนเข้าเรียนประจำฐาน หรือก่อนเข้าสู่บทเรียน |
-โสตทัศนูปกรณ์ |
พิธีกร |
-อธิบาย -สาธิต |
-สังเกต -พร้อมเพรียง -ร่วมมือ -ทันเวลา -ว่องไว |
|||
วดป. (วันที่ 1) |
[ก-19] คบคุ้นอุ่นใจ
- กลุ่มผู้เรียน 10 กลุ่ม พร้อมผ้าพันคอสัญลักษณ์กลุ่ม
และป้ายชื่อ |
ถาดใส่อาหาร, ผ้าพันคอสี จำนวน 10 สี (แต่ละสีเท่าจำนวนผู้เรียนของแต่ละกลุ่ม), ป้ายชื่อครบจำนวน ผู้เรียน [ส-8] |
-พิธีกร |
-อธิบาย -เกม -กิจกรรมกลุ่ม -สัมภาษณ์ |
-สังเกต -การคบคุ้น -พร้อมเพรียง -ร่วมมือ -ว่องไว |
||||
[1] พิธีกร นำเล่นเกมจับกลุ่ม เมื่อสัญญาณรวมกลุ่มดังขึ้น ถ้าผู้เรียนคนใดไม่มีกลุ่ม หรือเข้ากลุ่มไม่ทัน ให้ออกไปแนะนำตัว ให้สมาชิกทั้งหมดทราบ [2] ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มไถ่ถามประวัติของฝ่ายตรงข้าม ให้ได้มากที่สุด ภายในเวลาที่กำหนด แล้วพิธีกรจะสุ่มเรียกให้กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง หรือหลายกลุ่ม ออกไปรายงานว่า ตนรู้ข้อมูลและประวัติส่วนตัวของคู่สนทนาได้มากน้อยเท่าใด |
เพื่อให้ผู้เรียนได้รู้จัก สร้างความเป็นภราดรภาพระหว่างกันให้แน่แฟ้นยิ่งขึ้น | ตั้งชื่อกลุ่ม ตามผักพื้นบ้าน
ดังนี้ 1. กลุ่มผักหวาน 6. กลุ่มถั่วพู 2. กลุ่มตำลึง 7. กลุ่มขุนศึก 3. กลุ่มผักบุ้ง 8. กลุ่มผักปลัง 4. กลุ่มขุนเหล็ก 9. กลุ่มมะรุม 5. กลุ่มแมงลัก 10. กลุ่มชะอม |
|||||||
[3] แบ่งจำนวนผู้เข้าอบรม ออกเป็น 10 กลุ่ม แต่ละกลุ่มให้มีชาย หญิง และเจ้าหน้าที่ ธกส. ในอัตราส่วนที่เท่ากัน [4] แนะนำตัวสมาชิก พี่เลี้ยงประจำกลุ่ม และเจ้าหน้าที่ ธกส. ของแต่ละกลุ่ม ใช้ผ้าพันคอสี เป็นเครื่องหมายประจำกลุ่ม ติดป้ายชื่อ |
เพื่อให้ผู้เรียน พี่เลี้ยง
และเจ้าหน้าที่ ธกส. รู้จักกันเป็นเบื้องต้นก่อน และเรียกขานกัน ได้ถูกต้อง |
||||||||
[5] พี่เลี้ยงนำเที่ยวชมสถานที่ พุทธสถาน และชุมชน
|
เพื่อให้เกิดความคุ้นเคยแก่ผู้เรียน | ||||||||
วดป. (วันที่ 1) |
[ก-12] รับประทานอาหาร (มื้อเย็น วันที่ 1)
1. ตักอาหาร กิจกรรม [1] [2] [3] |
เพื่อจัดระเบียบ การรับประทาน, ตระหนักในคุณค่า, ของมังสวิรัติ ชาวนา และพ่อครัว แม่ครัว |
อุปกรณ์ [ส-2] [ส-8 (1)] [ส-21] บทพิจารณาอาหาร [ส-13] |
-พิธีกร |
ชุดที่ 2 | บรรยาย ประกอบสื่อปฏิบัติให้ดูเป็น ตัวอย่าง |
กินให้หมด งดเสียงดัง ลุกนั่งก็สะอาด |
||
วดป. (วันที่ 1) |
[ก-13] ล้างจาน ล้างใจ (มื้อเย็น วันที่ 1) กิจกรรม [1] [2] [3]
|
เพื่อให้ผู้เรียน รู้จัก |
ชุดอุปกรณ์ล้างจาน [ส-22] |
-พิธีกร |
ชุดที่ 2 | -สาธิต แนะนำ -ทำตัวอย่างให้ดู |
-เศษอาหารทิ้ง -น้ำแรกสะอาด -ล้างตามขั้นตอน -แยกขยะถูกต้อง |
||
วดป. (วันที่ 1) |
[ก-23] สาระบันเทิง เรื่อง ลูกวัว นักเรียนสัมมาสิกขา แสดงละครเพลง เรื่อง ลูกวัว |
เพื่อกระตุ้นให้ผู้ชมเกิดความเมตตาต่อสัตว์เลี้ยง เห็นโทษภัยของการกินเนื้อสัตว์ เพราะการกินเป็นเหตุแห่งการฆ่า |
-โสตทัศนูปกรณ์ |
-พิธีกร, |
ชุดที่ 1 | -แสดงละคร -สร้างเจตนคติ และค่านิยม |
-สังเกต -พร้อมเพรียง -มีส่วนร่วม |
||
วดป. (วันที่ 1) |
[ก-5] รายการภาคค่ำ
-เกิดมาทำไม (60 นาที) -พบสมณะ (60 นาที)[1] บรรยายธรรมโดยสมณะ เรื่อง เกิดมาทำไม เกี่ยวกับชีวิตของคนที่เกิดมา ในการแสวงหาที่สุดของชีวิต หรือความต้องการของชีวิตที่ได้เกิดมา เพื่อตอบปัญหาว่า เกิดมาทำไม? อันเป็นหนทางนำไปสู่ การขัดเกลากิเลส ทวนกระแสกิเลสไปสู่ความเป็นผู้หลุดพ้น ไม่เกี่ยวเกาะ กับ กิเลส ตัณหา อุปทาน และอัตตาทั้งปวง คงเหลือแต่ การงานเพื่อผู้อื่น |
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจที่เป็นสัมมาทิฐิ ในการดำรงชีวิตที่ชอบธรรม และเชื่อในกฏแห่งกรรม | โสตทัศนูปกรณ์ [ส-2 (1)] ศาลาฟังธรรม |
-สมณะ -ปฏิบัติกร -พิธีกร |
บรรยายธรรม | -สังเกต -ตั้งใจ-ตรงเวลา -มาพร้อมพรั่ง -นั่งสงบ -ครบจำนวน |
|||
[2] ผู้เรียนพบปะพูดคุย สนทนาธรรม กับ สมณะ สิกขมาตุ เป็นกลุ่ม เพื่อถามปัญหาธรรมะ หรือฟังธรรมตามสมควรแก่ธรรม | เพื่อไขข้อข้องใจ ทุกปัญหาที่ผู้เรียนสงสัย |
ศาลาฟังธรรม ที่สามารถแบ่ง นั่งเป็นกลุ่มได้ กลุ่มละประมาณ 10 - 20 คน จำนวนไม่น้อยกว่า 5 กลุ่ม |
-สมณะ -สิกขมาตุ |
สนทนาธรรม ซักถาม |
-สังเกต -ตั้งใจ -มีคำถาม |
||||
วดป. (วันที่
1) .................... คาบที่ 1/4 30 นาที 20.00 20.30 |
[ก-10] สวดมนต์ นั่งสมาธิ
ก่อนนอน สวดมนต์ สมาธิพุทธ สมาธิฤาษี [1] ผู้เรียนทุกคน เข้าศาลาฟังธรรมนั่งเป็นแถวประจำกลุ่มของตน พร้อมกันกับคนวัดทุกฐานะ การนั่ง การกราบ บทสวดมนต์ เหมือนกิจกรรมสวดมนต์ ทำวัตรเช้า (สวดแบบย่อ) |
เพื่อให้ผู้เรียนระลึกถึงธรรม ได้ดวงตาเห็นธรรม ในขณะสวดมนต์ และเป็นการสร้างพุทธประเพณีของชาวพุทธ เกิดความสะอาด สว่าง สงบ ขึ้นในจิตใจในระหว่างทำพิธี | บทสวดมนต์แปล [ส-12 (1) (2) (3) (4) (5) (6) (8)] |
-สมณะ | -นำกล่าว -ปฏิบัติให้ดู เป็นตัวอย่าง |
-สังเกต -พร้อมเพรียง -ครบจำนวน -ศีลเด่น |
|||
[2] แนะนำลักษณะ และคุณประโยชน์ของ สมาธิพุทธ กับ สมาธิฤาษี ตลอดจนวิธีฝึกสมาธิทั้งสองแบบ [3] จบกิจกรรม กราบลาสมณะแบบ |
เพื่อให้ผู้เรียนเห็นความแตกต่างของสมาธิพุทธ กับสมาธิฤาษี แล้วเลือกปฏิบัติส่วนที่เป็นคุณประโยชน์ เพื่อฝึกความอ่อนน้อมถ่อมตน และสำนึกกตัญญู |
ส-2(1) |
-สมณะ |
-บรรยายธรรม |
-สังเกต -กราบได้พร้อม |
||||
วัน เดือน ปี ..................น. |
[ก-34] ประชุมคนสร้างชาติ 2. ประชุมเจ้าหน้าที่ศูนย์ฝึก และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง หลังเสร็จสิ้นกิจกรรมของแต่ละวัน |
-เพื่อประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่ ของ
|
-โสตทัศนูปกรณ์ |
สมณะ |
หัวหน้างาน |
สิ่งดีควรรักษา ประเมินคุณภาพ |
|