Page 1/2 2/2 OFNT Home Page Close

หน้าแรก >[04] กสิกรรม > คกร. > หลักสูตรสัจธรรมชีวิต

สารบัญ | โครงการ | ระเบียบการ | อุดมการณ์-ปรัชญา | หลักสูตร | เนื้อหา-กิจกรรม | ดำเนินการอบรม | ประเมินผล | กฎระเบียบพื้นฐาน | สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ | แผน-คู่มือฝึกอบรม

สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ สิ่งปลูกสร้าง รายการที่ 20 - 34

20. เครื่องมือเรียนรู้ด้วยการกระทำ
21. บทเรียนอาหารมังสวิรัติ
22. ชุดอุปกรณ์ล้างจาน แต่ละชุด ประกอบด้วย
23. การแปรรูปข้าว
24. การแปรรูปสมุนไพร
25. การเพาะเห็ดนางฟ้า
26. การทำแชมพูสระผม
27. การประกอบอาหารมังสวิรัติ
28. การเพาะถั่วงอก
29. บทละครสั้น ประกอบบทบาทสมมุติ
30. แบบบันทึกผลการรักษาศีล 5 แบบประเมินผลคนของแผ่นดิน หมายเลข 1
31. แบบประเมินสำนึกกตัญญู 5 ส. แบบประเมินผลคนของแผ่นดิน หมายเลข 2
32. แบบบัญชีรายรับ รายจ่าย แบบประเมินผลคนของแผ่นดิน หมายเลข 3
33. แบบประเมินผล การฝึกอบรมหลักสูตรสัจธรรมชีวิต แบบประเมินผลคนของแผ่นดิน หมายเลข 4
34. แบบประเมินตนเองขณะปฏิบัติงาน แบบประเมินผลคนสร้างชาติ หมายเลข 5
35. ...


20. เครื่องมือเรียนรู้ด้วยการกระทำ (วัสดุอุปกรณ์การกสิกรรม)

(1) เคียว, จอบ, กรรไกรตัดหญ้า, มีดดายหญ้า,
(2) รถเข็น, เข่งใส่วัชพืช
(3) น้ำหมักจุลินทรีย์
(4) เครื่องฉีดพ่นน้ำหมัก, บัวรดน้ำ

21. บทเรียนอาหารมังสวิรัติ (วัสดุอุปกรณ์, เอกสารอ้างอิง)

(1) แผ่นพับ เรื่อง ยอดอาหารอายุวัฒนะ ข้าวกล้อง วิตามิน...เพียบ พิมพ์ที่โรงพิมพ์มูลนิธิธรรมสันติ

(2) บรรณศาสน์ อศ.088 เอกสารประกอบวิชาอาหาร เพื่อสุขภาพและความงาม พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มูลนิธิธรรมสันติ, 2532. 77 หน้า

(3) ตารางแสดงคุณค่าอาหารทางโภชนาการ

(4) ตารางแสดงคุณค่าอาหารในส่วนที่กินได้ 100 กรัม

(5) ตารางแสดงคุณค่าอาหารประเภทโปรตีน

(6) แผนภาพเปรียบเทียบคุณค่า ของข้าวขาวกับข้าวกล้อง

22. ชุดอุปกรณ์ล้างจาน แต่ละชุด ประกอบด้วย (วัสดุอุปกรณ์)

(1) โต๊ะ หรือแคร่ไม้ ที่วางกะละมังได้ ยาวไม่ต่ำกว่า 3 เมตร 1 ตัว
(2) ถังใส่ขยะพลาสติก, ถังใส่เศษอาหารเหลือ, ถังใส่เมล็ดผัก ผลไม้
(3) กะละมังใบใหญ่ 1 ใบ ใบเล็ก 6 ใบ
(4) ถาด 3 ใบ ถังน้ำพลาสติกขนาดเล็ก 3 ใบ
(5) ฟองน้ำหลายก้อน, ผ้าขัดหลายแผ่น, น้ำยาซักล้าง
(6) ตะแกรงตักเศษอาหารจากกะละมัง
(7) เข่งใส่จาน หรือ โต๊ะสำหรับวางภาชนะที่ล้างแล้ว
(8) ผ้าเช็ดภาชนะที่ล้างแล้ว

23. การแปรรูปข้าว (วัสดุอุปกรณ์, เอกสารข้อความ)

(1) อุปกรณ์ฝึกปฏิบัติแปรรูปข้าว ทำปาท่องโก๋
1.
2.

(2) วิธีทำปาท่องโก๋
1.
2.

24. การแปรรูปสมุนไพร (วัสดุอุปกรณ์, เอกสารข้อความ)

(1) อุปกรณ์ฝึกปฏิบัติแปรรูปสมุนไพร
1.
2.

(2) วิธีทำ
1.
2.

25. การเพาะเห็ดนางฟ้า (วัสดุอุปกรณ์, เอกสารข้อความ)

(1) อุปกรณ์ฝึกปฏิบัติเพาะเห็ดนางฟ้า
1.
2.

(2) วิธีเพาะเห็ดนางฟ้า
1.
2.

26. การทำแชมพูสระผม (วัสดุอุปกรณ์, เอกสารข้อความ)

(1) อุปกรณ์ฝึกปฏิบัติทำแชมพู
1.
2.

(2) วิธีทำ
1.
2.

27. การประกอบอาหารมังสวิรัติ (วัสดุอุปกรณ์, เอกสารข้อความ)

(1) อุปกรณ์ฝึกปฏิบัติประกอบอาหารมังสวิรัติ
1.
2.

(2) วิธีทำ
1.
2.

28. การเพาะถั่วงอก (วัสดุอุปกรณ์, เอกสารข้อความ)

(1) วัสดุอุปกรณ์

1. ถังเพาะพลาสติกสีทึบ ขนาดความจุ ประมาณ 1 แกลลอน เจาะรูที่ก้นถัง ด้วยสว่านเบอร์ 3.2 จำนวน 12 รู
2. ถั่วเขียว ปริมาณ 150 กรัม (1.5 ขีด)
3. กะละมังสำหรับแช่เมล็ดถั่วเขียว

(2) วิธีทำ

1. คัดเลือกเมล็ดพันธุ์ที่สมบูรณ์เต็มที่ (ควรเป็นถั่วใหม่) แช่ถั่วไว้ประมาณ 9 - 10 ชั่วโมง แล้วล้างด้วยน้ำสะอาด บรรจุถัง ปาดถั่วให้เสมอกัน จะทำให้ถั่วขึ้นเป็นระเบียบสวยงาม (ถังเพาะ 1 แกลลอน ต่อถั่ว 1.5 ขีด จะได้ถั่วงอก ประมาณ 1 กก.)

2. รดน้ำวันละ 3 เวลา คือ เช้า กลางวัน เย็น ถ้าไม่มีเวลา ให้นำถังเพาะไปแช่ตู้เย็นไว้ แล้วนำออกมารดน้ำในเวลาต่อไป การรดน้ำ ให้รดจนกว่าน้ำที่ไหลออกจากถัง มีความเย็นเท่ากับน้ำที่รด น้ำที่ใช้รด ควรเป็นที่เย็น ถ้าเป็นไปได้ ควรใช้น้ำตามธรรมชาติ

3. วางถังเพาะในที่สะอาด แห้ง มีอากาศถ่ายเทสะดวก เป็นสถานที่ที่ทึบแสง เพราะถ้าแสงเข้ามาในถัง ถั่วจะเป็นสีเขียว รากยาว และตัวผอม

4. อุณหภูมิ ถ้ามีความชื้นมาก (ฝนตกบ่อย หรือเกือบทั้งวัน) ปริมาณน้ำที่รด ก็จะน้อยลงหน่อย ภาวะการเจริญเติบโตของถั่ว จะช้าลงด้วย และติดเชื้อได้ง่าย ถ้าอากาศเย็นและแห้ง (ฤดูหนาว) ถั่วจะเจริญเติบโตได้ดี อายุของถั่วงอกที่เหมาะสม และถอดปลอกได้ดีคือ ประมาณ 3 วัน ถ้าอากาศร้อนจัด ต้องใช้น้ำปริมาณมาก เพื่อไล่ความร้อนจากถังเพาะ ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่จะทำให้ถั่วเน่า

(3) การเก็บเกี่ยว

ถ้าต้องการบริโภคเป็นบางส่วน ให้ดึงต้นที่อยู่ข้างบนมาใช้ นอกนั้นให้รดน้ำตามปกติ สามารถเก็บไว้ใช้ในวันต่อไปได้

(4) การบำรุงดูแลรักษา

การให้น้ำ ถ้ารดมากเกินไป ถั่วจะเน่า ถ้ารดน้อยเกินไปรากจะยาวแตกฝอย ควรฆ่าเชื้อที่ โรงเรือนเพาะถั่วงอก อาทิตย์ละ 1 ครั้ง ด้วยการต้มน้ำร้อนลวก ทุกครั้งที่เลิกใช้ถังเพาะ ควรล้าง ขัดตามรูให้สะอาด

(5) ประโยชน์ คุณค่า และการนำไปใช้

ถั่วงอกที่เป็นส่วนประกอบของก๋วยเตี๋ยว เกาเหลา ผัดไทย ฯลฯ ที่เห็นเป็นประจำ หลายคนชอบ ทราบไหมว่า ถั่วงอก มีสารอหารที่มีคุณค่าเพียบ ทั้งวิตามินเอ บี ซี และเส้นใย (Fibre) ที่มีผลต่อระบบย่อยอาหาร และการขับถ่ายของผู้บริโภค ต้นถั่วงอก มีปริมาณมากกว่าตอนเป็นเมล็ดถั่งถึง 7 เท่า แล้วยังมีวิตามินบี 12 อีกด้วย (พืชน้อยชนิด ที่จะมีวิตามินบี 12) ขณะที่ถั่วงอกเริ่มเจริญเติบโตจากเมล็ดถั่ว แป้งจะแตกตัวเป็นน้ำตาล ไขมันกลายเป็นกรดไขมัน และโปรตีนเป็นกรดอะมิโน (ถมอัตราส่วนน ระหว่างปริมาณกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อกรดอะมิโน
ที่ไม่จำเป็น ยังเพิ่มขึ้นด้วย) ซึ่งก็หมายความว่า เมล็ดถั่ว ผ่านการย่อยมาระดับหนึ่ง ก่อนที่จะเป็นถั่วงอก ถั่วงอกจึงจัดว่าเป็นอาหารที่เหมาะสมกับสุขภาพอันดี ในบรรดาผักทั่งปวง เพาะปลูกง่าย ใช้ทำอาหารได้หลายประเภท รสชาติอร่อย และที่สำคัญคือ ราคาถูก

ถั่วงอกดิบ หนัก 100 กรัม จะให้พลังงาน = 30 แคลอรี, แป้ง = 5.0 กรัม, ไขมัน = 0.2 กรัม, ให้โปรตีน = 4.2 กรัม, มีวิตามินเอ = 33 มิลลิกรัม, วิตามินบี 1 = 0.11 มิลลิกรัม, วิตามินซี = 18 มิลลิกรัม, แคลเซียม = 15 มิลลิกรัม, ฟอสฟอรัส = 71 มิลลิกรัม, เหล็ก = 1.2 มิลลิกรัม

(6) สรรพคุณทางยา ของถั่วเขียว

เป็นพืชจำพวกถั่ว ที่นิยมใช้รับประทานทั่วไป จะนำไปต้มผสมกับน้ำตาลทราย รับประทานเป็นของหวาน หรือ นำไปเพาะเป็นถั่วงอกก็ได้ เป็นอาหารที่อร่อยทั้งนั้น

นอกจากจะใช้ถั่วเขียวเป็นยาแล้ว ใบ ลำต้น ดอก และเปลือกล้วนเป็นยาได้

ในถั่วเขียวหนัก 100 กรัม มีโปรตีน 22.1 กรัม ไขมัน 0.8 กรัม สารประกอบจำพวกแป้ง 59 กรัม นอกจากนี้ ยังมีเกลือแร่หลายชนิด จัดเป็นพืชที่มีโปรตีนอยู่ปริมาณมาก สามารถรับประทานแทนเนื้อสัตว์เพื่อให้สารโปรตีน

ถั่วเขียวมีรสหวาน เย็น ไม่มีพิษ มีสรรพคุณดับร้อน ถอนพิษไข้ ขับปัสสาวะ แก้อาการบวมน้ำ อาหารเป็นพิษ หรือติดพิษจากยาสมุนไพร นอกจากนี้ ยังเป็นอาหารที่ช่วยป้องกันโรคความดันโลหิตสูงได้ด้วย

ตำรายาอย่างง่ายๆ มีดังนี้

แก้อาหารเป็นพิษอย่างเฉียบพลัน เอาถั่วเขียวจำนวนพอเหมาะ แช่น้ำจนพองเล็กน้อย นำไปบดจนละเอียด คั้นเอาแต่น้ำ ให้ผู้ป่วยดื่มให้มากๆ

ปัสสาวะขัด เปลือกหุ้มถั่วเขียว หรือ ถั่วเขียวต้มน้ำกิน จะช่วยขับปัสสาวะได้

ฝีหนอง เอาถั่วเขียวแช่น้ำ แล้วบดให้ละเอียด คั้นเอาแต่น้ำ นำน้ำที่ได้ไปทาบริเวณที่เป็น ทิ้งให้แห้ง แล้วจึงล้างออก ทำเช่นนี้ วันละ 3 - 5 ครั้ง

รักษาต่อมน้ำลายอักเสบ เอาถั่วเขียวหนัก 60 กรัม ต้มในหม้อจนสุก แล้วใส่แกนผักกาดขาว (ใบอ่อน) ลงไป 2 - 3 หัว แล้วต้มต่อไปอีก 20 นาที ให้เอาส่วนที่เป็นน้ำมาดื่ม จากการรักษาผู้ป่วย 34 ราย สามารถรักษาให้หายทั้งหมดได้

ติดพิษสารตะกั่ว เอาถั่วเขียว หนัก 120 กรัม ชะเอมเทศ หนัก 15 กรัม ต้มรวมกันจนสุก รับประทานจนหมด โดยแบ่งทานวันละ 2 ครั้ง และทานพร้อมกับวิตามินซี 300 มิลลิกรัม ให้กินยา 10 - 15 วัน เป็นการรักษาหนึ่งกระบวน โดยทั่วไป รักษา 2 กระบวน จึงได้ผลดี จากการรักษาผู้ป่วย 37 ราย รักษาได้ผลทั้งหมด

แผลน้ำร้อนหรือไฟลวก เอาถั่วเขียวบดให้เป็นผงละเอียด 60 กรัม ผสมกับแอลกอฮอล์ 75% จนได้เป็นยาข้น ทิ้งไว้ 30 นาที จึงผสมเกล็ดการบูร อีก 9 กรัม คนให้เข้ากัน เก็บไว้ใช้ ก่อนนำไปใช้ ให้ล้างแผลที่ถูกลวกให้สะอาดก่อน จึงเอายาทาที่แผลให้หนาประมาณ 2 มิลลิกรัม ทำเช่นนี้ วันละ 2 - 3 ครั้ง จากการรักษาผู้ป่วยกว่า ร้อยราย รักษาได้ผลดี แผลหายไวขึ้น แผนเป็นมีน้อย ช่วยลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ และของเหลวที่ให้ทางเส้นเลือดดำน้อยลง แต่มีข้อเสียคือ เวลาทาจะปวดมาก อาจจะใช้ยาชาทาเสียก่อน จึงเอายาดังกล่าวทา

เลือกกำเดาออก ไอมีเลือด มีไข้ เอาถั่วเขียวกับรากบัว ต้มรวมกัน รับประทานน้ำ

ความดันโลหิตสูง เอาถั่วเขียว 100 กรัม สาหร่ายทะเล 50 กรัม เติมน้ำ แล้วต้มจนเปื่อยดี จึงเติมน้ำตาลทรายขาวลงไป รับประทานเป็นประจำ

ร้อนในกระหายน้ำ เอาถั่วเขียวต้มจนเปื่อย เติมน้ำตาลทรายขาว ทิ้งให้เย็น จึงดื่มน้ำที่ได้

29. บทละครสั้น ประกอบบทบาทสมมุติ (เอกสารข้อความ)

เรื่อง เจ้านายกับคนใช้

เวลา คนละ 1 นาที

ผู้แสดง จำนวน 3 คน คือ เจ้าของร้าน หญิงรับใช้ และลูกค้าประจำ

เหตุการณ์ ร้านขายอาหารแห่งหนึ่ง มีลูกค้าประจำมาใช้บริการคับคั่งทุกวัน พนักงานหญิงคนใหม่
เผลอทำจานแตกต่อหน้าลูกค้า ไป 3 ใบ แล้ว

บทบาท (1) ให้ผู้เรียน 3 คน แสดงบทบาทเป็น เจ้าของร้าน พนักงานหญิง และลูกค้า จะใช้
คำพูดอย่างไร เพื่อจุดประสงค์ 3 ประการ คือ

“พูดจะเอาเรื่อง”
“พูดปลอบใจ ให้กำลังใจ”
“พูดค้นหาสาเหตุ (ว่าทำไมทำจานแตก ตั้ง 3 ใบ ในเวลาใกล้เคียงกัน)”

(2) ให้ผู้เรียน 3 คน ออกไปแสดงคำพูด แทนพนักงานหญิงคนนั้น ด้วยอารมณ์ 4 แบบ คือ

“โกรธ ไม่พอใจ”
“สำนึกผิด”
“แก้ตัว”

เรื่อง ทำดีได้ดี ทำไม่ดีถูกด่า

เวลา คนละ 1 นาที

ผู้แสดง จำนวน 4 คน คือ เด็กลูกเจ้าของบ้าน (เจ้าของลูกบอล) เพื่อนบ้าน เจ้าของบ้าน และพระสงฆ์

เหตุการณ์ ในสวนสาธารณะแห่งหนึ่ง มีบุคคล 4 คน คือ เด็กลูกชายเจ้าของบ้าน เพื่อนบ้าน เจ้าของบ้าน
และพระสงฆ์ พบเรากำลังปีนรั้วออกจากบ้านหลังหนึ่ง พร้อมด้วย ลูกบอลของเด็ก และมะม่วง
อีก 1 ผล (เก็บลูกบอลให้เด็ก และเด็ดมะม่วงในบ้านมากิน) ในขณะนั้น เจ้าของบ้านเห็นพอดี
รวมทั้งเพื่อนบ้าน และพระสงฆ์ ก็เห็นเหตุการณ์นั้นด้วย ซึ่งผู้คนทั่วไปก็ทราบดีว่า เจ้าของบ้าน
หลังดังกล่าว หวงมะม่วง ต้นนั้นมาก ถึงกับพูดว่าถ้าใครแอบมาเด็ดมะม่วงต้นนี้ จะแจ้งความ
เอาตำรวจไปจับ

บทบาท (1) ให้ผู้เรียน 4 คน แสดงบทบาทสมมุติเป็น เด็ก เพื่อนบ้าน เจ้าของบ้าน และพระสงฆ์ จะใช้
คำพูดอย่างไร เพื่อจุดประสงค์ 3 ประการ คือ

“พูดด่าว่า ซ้ำเติมให้เจ็บใจ” “พูดเอาใจ (หมั่นไส้เจ้าของบ้านมานานแล้ว)”
“พูดแนะนำถูกผิด ตามข้อเท็จจริง”

(2) ให้ผู้เรียน 4 คน ออกไปแสดงคำพูด แทนตัวเรา ด้วยอารมณ์ 4 แบบ คือ
“ไม่พอใจ” “สำนึกผิด”
“น้อยใจ” “อยากเอาตัวรอด”

30. แบบบันทึกผลการรักษาศีล 5 แบบประเมินผลคนของแผ่นดิน หมายเลข 1 (เอกสารข้อความ)

การรักษาศีล 5 (แบบประเมินผลคนของแผ่นดิน หมายเลข 1)

ชื่อ นามสกุล.......................................... ระยะเวลาเริ่มต้น – สิ้นสุด ..................................

ศีล ข้อที่ ข้อห้าม ข้อที่ควรทำ
1. ปาณาติปาตา เวรมณี เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ ด้วยเจตนา   เจริญเมตตาธรรม ให้ยิ่งขึ้นทางกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม  
2. อทินนาทานา เวรมณี เว้นขาดจากการลักทรัพย์ อันเป็นที่รักและหวงแหนของบุคคลอื่น   เป็นผู้เสียสละยิ่งๆ ขึ้น ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยสิ่งของ หรือแรงกาย โดยไม่รับค่าตอบแทนใดๆ  
3. กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี เว้นขาดจากการละเมิดผิดต่อบุคคล
อันเป็นที่รักที่หวงแหนของบุคคลอื่น
  มีกามสังวร ระมัดระวังกาย วาจา และใจ
มิให้ส่อไปในทางไม่งาม
 
4. มุสาวาทา เวรมณี เว้นขาดจากการพูดเท็จ ส่อเสียด คำหยาบ
เพ้อเจ้อ
  มีสติต่อการใช้คำพูดอยู่เสมอ พูดแต่สิ่ง
อันเป็นสาระและสัจจะ
 
5. สุราเมรยมัชชปมา
ทัฏฐานา เวรมณี
เว้นขาดจากสิ่งเสพติดทุกชนิด ลด ละ เลิก อบายมุข   กระทำตนให้เป็นผู้รู้ ตื่น เบิกบานอยู่เสมอ ไม่เป็นผู้ง่วงเหงา เศร้าซึม  
รวมคะแนน  

รวมคะแนน

รวมคะแนน ข้อห้าม + ข้อที่ควรทำ

 

ภพภูมิที่เป็นอยู่
คะแนน 0 – 10 ได้ภพภูมิ นรก เปรต อสุรกาย
คะแนน 11 – 25 ได้ภพภูมิ มนุษย์
คะแนน 26 – 30 ได้ภพภูมิ เทวดา

 

คำชี้แจง

1. บันทึกเหตุการณ์จริง หรือเหตุผล ที่ได้กระทำ โดยสรุป ในช่องรายการ ข้อห้าม และข้อที่ควรกระทำ

2. ใส่ตัวเลขในช่องให้คะแนนตัวเอง ทั้งในส่วนที่เป็นข้อห้าม และ ข้อที่ควรกระทำ ให้ค่า 4 ระดับ คือ

0 = ทำไม่ได้ หรือศีลตกล่วง
1 = ทำได้อย่างยากลำบาก หรือทำได้บ้างไม่ได้บ้าง ศีลยังไม่บริสุทธิ์
2 = ทำได้ รักษาศีลได้ครบถ้วน แต่ก็ยังยากอยู่
3 = ทำได้ไม่ยาก ศีลบริสุทธิ์


บันทึกความดี

วัน เดือน ปี ความดีที่ทำได้
(ฝืนใจไม่ทำตามกิเลสได้สำเร็จ)
ความดีที่ได้ทำ
(ได้เสียสละ ได้ให้อะไร แก่ใคร เมื่อไร เท่าไร)

 

 

 

 

 

 

   

บันทึกความคิดใหม่

ความคิดใหม่ๆ ทีได้จากการศึกษาค้นคว้า ทดลอง และปฏิบัติจริง

............................. ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ....................... ........ ....

............................. ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ....................

............................. ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ....................

31. แบบประเมินสำนึกกตัญญู 5 ส. แบบประเมินผลคนของแผ่นดิน หมายเลข 2 (เอกสารข้อความ)

ประเมินสำนึกกตัญญู 5 ส. (แบบประเมินผลคนของแผ่นดิน หมายเลข 2)

วันที่ ................. เดือน ............................... พ.ศ. ....................... ชื่อกลุ่มที่ถูกประเมิน ชื่อผู้ประเมิน ..............................................................

รายการที่ประเมิน
คะแนน
บันทึก
เหตุผล
ผู้ประเมิน
สะสาง
สะดวก
สะอาด
สุขลักษณะ
สร้างนิสัย
รวม

ภายในบ้านพัก
- พับเก็บมุ้ง ผ้าห่ม ที่นอน
- เสื้อผ้าของใช้ส่วนตัว
- ทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้ ตู้ ชั้นวางของ
- พื้นบ้าน ผนัง ขอบหน้าต่าง ฝ้าเพดาน
บานประตู หน้าต่าง บันได ราวบันได
- บันได ที่วางรองเท้า ราวตากผ้า ไม้แขวนผ้า
- ขัดถูห้องน้ำห้องส้วม
- เก็บรักษาอุปกรณ์ทำความสะอาด ให้ถูกวิธี
- จัดมุมมอง ตำแหน่งสิ่งของเครื่องใช้

กรรมการ

บริเวณบ้านพัก
- ดูแลทำความสะอาดบริเวณบ้าน
- ถังแยกขยะ ถังพักน้ำเสียต้องปราศจากกลิ่น

             

กรรมการ

อาคารสถานที่ศูนย์ฝึก
- ทำความสะอาด ศาลาฝึกอบรม
- ห้องน้ำห้องส้วม
- ทางเดิน
- โรงครัว
- โรงฝึกงาน (โรงเห็ด โรงแชมพู โรงแปรรูปฯ)

             

กรรมการ

เสื้อผ้า ร่างกาย
- ความสะอาดเรียบร้อยของเสื้อผ้า ร่างกาย
- สุขอนามัยของ ผิวหนัง ฟัน เล็บ กลิ่น
- ผ้าพันคอ ติดป้ายชื่อ

             

หัวหน้ากลุ่ม

ล้างจาน ล้างใจ
- ล้างจานถูกวิธี ล้างตามขั้นตอน
- แยกขยะ

กรรมการ

ประโยชน์สูง – ประหยัดสุด
- การใช้น้ำ
- การใช้ไฟฟ้า
- อาหาร เศษอาหาร

             

หัวหน้ากลุ่ม
กรรมการ

รวมคะแนน

             

ผลการประเมินเป็นรายกลุ่ม (คะแนน, ดี, แก้ไข)

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

ผลการประเมินพฤติกรรม 5 ส. ทั่วไป (คะแนน, ดี, แก้ไข)

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

32. แบบบัญชีรายรับ รายจ่าย แบบประเมินผลคนของแผ่นดิน หมายเลข 3 (เอกสารข้อความ)

บัญชีรายรับ รายจ่าย ประจำเดือน (แบบประเมินผลคนของแผ่นดิน หมายเลข 3)

ครอบครัวของ (นาย/นาง) ชื่อ .................................................................. นามสกุล ..........................................................

ส่วนที่ 1 รายได้ รายจ่าย เงินออม ภาระหนี้สิน

รายได้ประจำเดือนนี้

1. ยอดยกมาจากเดือนที่แล้ว ............. . บาท
2. ................................................... . บาท
3. ................................................... . บาท
4. ................................................... . บาท

รวมยอดรายรับ .................................... บาท

รายจ่ายประจำเดือนนี้

1. รายจ่ายที่จำเป็น ............................... บาท
2. รายจ่ายที่ไม่จำเป็น ........................... บาท

รวมยอดรายจ่าย .................................. . บาท

เงินออมประจำเดือนนี้

1. ยอดยกมาจากเดือนก่อน ....................................... . บาท
2. ดอกเบี้ยสะสมของเงินออม..................................... . บาท
3. เงินออมเดือนนี้ .................................................... . บาท

รวมยอดเงินออม . บาท

ภาระหนี้สินเดือนนี้

1. หนี้สิน ลูกหนี้ ธกส................................ . บาท (รวมดอกเบี้ยแล้ว)
2. หนี้สิน ลูกหนี้ ธนาคาร........................... . บาท (รวมดอกเบี้ยแล้ว)
3. หนี้สิน ลูกหนี้ เงินนอกระบบ .................... บาท (รวมดอกเบี้ยแล้ว)

รวมยอดหนี้สิน ......................................... . บาท

ชำระคืนหนี้สินเดือนนี้

1. ชำระคืน ธกส........................................ . บาท
2. ชำระคืน ธนาคาร................................... . บาท
3. ชำระคืน เจ้าหนี้เงินนอกระบบ .................. บาท

ยอดชำระคืน .............................................. บาท

หนี้สินคงเหลือ ............................................ บาท

ส่วนที่ 2 บัญชีรายจ่าย (ต่อเดือน)

รายจ่ายที่จำเป็น

บาท

รายจ่ายที่ไม่จำเป็น

บาท

1. ค่าเช่าบ้าน

   

1. สุรา เบียร์

 

2. น้ำมันรถ

   

2. บุหรี่

 

3. ไฟฟ้า – น้ำประปา

   

3. น้ำอัดลม (ทุกชนิด)

 

4. โทรศัพท์

   

4. หวย (ทุกชนิด)

 

5. ผ่อนส่ง ...

   

5. พนัน (ทุกชนิด)

 

6. วัตถุดิบทำอาหาร

   

6. ห้องอาหาร – คาราโอเกะ

 

7. อาหาร

   

7. อาหารว่าง (ของกินเล่น)

 

8. ค่าใช้จ่ายลูก

   

8. งานเลี้ยง – ของฝาก

 

9. ค่าใช้จ่ายเลี้ยงดูบุพการี

   

9. ของเล่นทุกชนิด

 

10. ค่าจ้างคนงาน

   

10. ดูหนัง – ช็อปปิ้ง

 

11. ค่ารักษาพยาบาล ค่ายา

   

11. แฟชั่นเสื้อผ้า รองเท้า กระเป๋า

 

12. ค่าฌาปนกิจ / กองทุน

   

12. เครื่องสำอาง – เปลี่ยนทรงผม

 

13. ดอกเบี้ย ..

   

13. เสริมสวย (ทุกประเภท)

 

14. ..

   

14. ท่องเที่ยว (tour)

 

15. ..

   

15. อาบ อบ นวด

 

16. ..

   

16. ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าหญ้า ฆ่าแมลง*

 

17. ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าหญ้า ฆ่าแมลง*

   

17.

 

18. เบ็ดเตล็ด

   

18.

 
     

รวม

 
     

รวมค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น

 

*ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าหญ้า ฆ่าแมลง เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ว่าจะให้เป็นรายจ่ายจำเป็นหรือไม่จำเป็น

33. แบบประเมินผล การฝึกอบรมหลักสูตรสัจธรรมชีวิต แบบประเมินผลคนของแผ่นดิน หมายเลข 4
(เอกสารข้อความ)

แบบประเมินผล หลักสูตรสัจธรรมชีวิต โครงการพัฒนาศักยภาพ และคุณภาพเกษตรกร
(แบบประเมินผลคนของแผ่นดิน หมายเลข 4)

ศูนย์ฝึกอบรมพุทธสถานศาลีอโศก ต.โคกเดื่อ อ.ไพศาลี จ.นครสวรรค์ รุ่นที่.......... ระหว่าง...............................................
คำชี้แจง โปรดตอบแบบสอบถามตามความเป็นจริง โดยการทำเครื่องหมายถูก ในช่องว่างหลังรายการที่ประเมิน

(1) ความเหมาะสมในการจัดการอบรม

ที่
รายการที่ประเมิน
ระดับคุณภาพ
มากสุด
มาก
กลาง
น้อย
น้อยสุด

1

ระยะเวลาในการฝึกอบรม (จำนวนวัน) เหมาะสม

         

2

เนื้อหาสาระคำบรรยายจากวิทยากร เหมาะสม

         

3

สถานที่อบรมดี ใช้ได้ (โปรดระบุ) .... ...... ...... .... ...... ...... ...... ........

         

4

กิจกรรมการออกกำลังกาย เหมาะสม

         

5

กิจกรรมสำนึกกตัญญู 5 ส. เหมาะสม

         

6

การแสดงสาธิต วัฒนธรรมชุมชน เหมาะสม

         

7

การจัดกิจกรรมด้านกสิกรรม เรียนรู้ด้วยการกระทำ เหมาะสม

         

8

ฐานงานแชมพู จัดกิจกรรมได้เหมาะสมดี

         

9

ฐานงานสมุนไพร จัดกิจกรรมได้เหมาะสมดี

         

10

ฐานงานเห็ด จัดกิจกรรมได้เหมาะสมดี

         

11

ฐานงานแปรรูปข้าว จัดกิจกรรมได้เหมาะสมดี

         

12

ฐานงานอาหารมังสวิรัติ จัดกิจกรรมได้เหมาะสมดี

         

13

สมณะเทศน์ได้เหมาะสม ดี ชอบ

         

14

*

         

15

*

         

คำชี้แจง * สามารถเพิ่มรายการประเมินใน ข้อ 14 – 15 ได้ตามต้องการ

ข้อเสนอแนะ ........................... ............. ............. ............. ............. ............. .............

............. ............. ............. .............. ............. ............. ............. ............. ............. ...

.......... ............. ............. ............. ............. ............. ............. ................................. .

(2) การให้บริการ

ที่
รายการที่ประเมิน
ระดับคุณภาพ
มากสุด
มาก
กลาง
น้อย
น้อยสุด

1

การต้อนรับ ให้ความอบอุ่น เป็นกันเอง

         

2

พี่เลี้ยง และ วิทยากร ให้บริการ ช่วยเหลือ แนะนำ เป็นอย่างดี

         

3

อาหารเครื่องดื่ม น้ำดื่ม เพียงพอกับจำนวนคน

         

4

เอกสารมีให้เพียงพอกับความต้องการ

         

5

*

         

6

*

         

7

*

         

คำชี้แจง * สามารถเพิ่มรายการประเมินใน ข้อ 5 – 7 ได้ตามต้องการ

ข้อเสนอแนะ ........................... ............. ............. ............. ............. ............. .............

............. ............. ............. .............. ............. ............. ............. ............. ............. ...

.......... ............. ............. ............. ............. ............. ............. ................................. .

(3) ผลที่ได้รับจากการอบรม

ที่
รายการที่ประเมิน
ระดับคุณภาพ
มากสุด
มาก
กลาง
น้อย
น้อยสุด

1

เป็นประโยชน์โดยตรง ต่อการพัฒนาตนเอง

         

2

เป็นประโยชน์โดยตรง ต่อครอบครัว

         

3

เป็นประโยชน์โดยตรง ต่อชุมชน หรือหมู่บ้าน

         

4

เป็นประโยชน์โดยตรง ต่องานที่รับผิดชอบ

         

5

ให้ประโยชน์คุ้มค่ากับ เวลา การลงทุน และแรงงาน

         

6

*

         

7

*

         

 

คำชี้แจง * สามารถเพิ่มรายการประเมินใน ข้อ 6 – 7 ได้ตามต้องการ

ข้อเสนอแนะ ........................... ............. ............. ............. ............. ............. .............

............. ............. ............. .............. ............. ............. ............. ............. ............. ...

.......... ............. ............. ............. ............. ............. ............. ................................. .

(4) อารมณ์และความรู้สึก

ที่ รายการที่ประเมิน ระดับคุณภาพ
มากสุด มาก กลาง น้อย น้อยสุด

1

ประทับใจด้านอาคารสถานที่ ที่พักอาศัย

         

2

ประทับใจด้านการบริการ และอำนวยความสะดวกทั่วๆ ไป

         

3

ความเลื่อมใสศรัทธาต่อสมณะ สิกขมาตุ

         

4

ความเลื่อมใสศรัทธาต่อสมณะ และชาวชุมชน

         

5

อาหารอร่อย ถูกสุขลักษณะ และมีคุณภาพ

         

6

ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

         

7

เมื่อกลับถึงบ้านแล้ว ตั้งใจจะรักษาศีล กินมังสวิรัติ ละอบายมุข

         

8

รู้สึกถูกบีบคั้น เรื่อง (โปรดระบุ) ............. ............. ............. .............

         

9

*

         

10

*

         

11

*

         

12

*

         

คำชี้แจง * สามารถเพิ่มรายการประเมินใน ข้อ 9 – 12 ได้ตามต้องการ

ข้อเสนอแนะ ........................... ............. ............. ............. ............. ............. .............

............. ............. ............. .............. ............. ............. ............. ............. ............. ...

.......... ............. ............. ............. ............. ............. ............. ................................. .

(5) ความเห็นเพิ่มเติม

............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ....................
............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ......
............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ....................
............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ......
............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ....................
............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ......
............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ....................
............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ............. ......

34. แบบประเมินตนเองขณะปฏิบัติงาน แบบประเมินผลคนสร้างชาติ หมายเลข 5 (เอกสารข้อความ)

แบบประเมินตนเองของคนสร้างชาติ แบบประเมินผลคนสร้างชาติ หมายเลข 5
(เฉพาะเจ้าหน้าที่ศูนย์ฝึกอบรม ชาวชุมชน ทุกคน ทุกฐานะ)

ชื่อ-นามสกุล ........ ........ ........ ...... ........ ........ ........ งานที่รับผิดชอบ ........ ........ ........ ระหว่าง ........ ........ .......................
คำชี้แจง โปรดตอบแบบสอบถามตามความเป็นจริง โดยการทำเครื่องหมายถูก ในช่องว่างหลังรายการที่ประเมิน

ที่
รายการที่ประเมิน
ระดับคุณภาพ
มากสุด
มาก
กลาง
น้อย
น้อย
เรื่องงาน :          

1

ท่านระมัดระวังการใส่เสื้อผ้าขณะอบรม

         

2

ท่านทำตัวเป็นผู้เลือกงาน

         

3

ท่านได้ประโยชน์ตนจากงานนี้

         

4

ท่านได้ประโยชน์ท่านจากงานนี้

         

5

ท่านมีความรู้สึกพึงพอใจ ในการเป็นผู้อยู่เบื้องหลังงาน

         

6

ท่านตระหนักเสมอในวิญญาณแห่งการรับใช้ เสียสละ

         

7

อ่านอ่านใจตัวเองตลอดเวลาขณะปฏิบัติงาน

         

8

ท่านตระหนักอยู่เสมอ งานทุกงานล้วนมีค่ายิ่งใหญ่ในตัวของมันเอง

         

9

ท่านอยากให้ผู้เข้ารับการอบรมมาเป็นญาติธรรมไวๆ

         

10

ท่านได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบงานประจำ

         

11

ท่านขวนขวายหางานอื่นๆ ทำ นอกเหนือจากงานประจำ

         

12

ท่านมีจิตใจ เห็นใจ คณะทำงานชุดนี้

         

13

ท่านตระหนักการทำงานเป็นทีม และพร้อมรับฟังความคิดเห็นอื่น

         

14

ท่านได้งานพี่เลี้ยงเต็มที่

         

15

ท่านตื่นมาร่วมทำวัตรเช้าทันเวลา

         

16

ท่านกำหนดวิกาลโภชนาได้มั่นคง

         
เรื่องอารมณ์ :          

17

งานอบรมครั้งนี้ ท่านรู้สึกไม่ได้ดั่งใจ

         

18

ท่านได้รับการขัดเกลาจากปฏิบัติกรด้วยกัน

         

19

ท่านมีจิตเพ่งโทษในตัวผู้เข้ารับการอบรม

         

20

ท่านมีจิตเพ่งโทษในหมู่ปฏิบัติกรด้วยกันเอง

         

21

ท่านตระหนักเสมอว่า ท่านเป็นท่านเป็น “วัวงาน”

         

เรื่องโลกธรรม :

         

22

ท่านมีความรู้สึกอยากมีส่วนเด่นบ้าง ในการทำงาน

         

23

ไม่มีบทบาทเด่นชัด ท่านรู้สึก กระวนกระวายใจ

         

24

ท่านเปิดโอกาสให้คนอื่นๆ (ปฏิบัติกร) ได้มีโอกาสแสดงออกบ้าง

         

25

ท่านพูดจายกยอ สนับสนุน ชมชื่น พ่อท่าน หรือหมู่กลุ่มชาวอโศก

         

26

ท่านอยากเป็นผู้ตามในงานนี้

         

27

ท่านดีใจที่มีเพื่อนสหธรรมิกทักท้วงติงเตือน

         

เรื่องจิตครู :

         

28

ท่านมีความกระตือรือล้นอยากสอนคนอื่น

         

29

ท่านไม่มีโอกาสตักเตือน “เขา” ท่านจึงรู้สึกไม่สบายใจ

         

30

ท่านเห็น “เขา” ปฏิบัติไม่ถูกต้อง ท่านทนไม่ได้

         

31

ท่านหาโอกาสพูดจา ปฏิสันถารกับผู้เข้ารับการอบรมทั่วไป

         

32

ท่านกล่าวโจมตี ศีลพตปรามาส

         

33

ท่านกล่าวติเตียนศาสนาอื่น หรือสำนักอื่น รือพระเกจิฯอื่นๆ

         

34

ท่านใช้ศัพท์แสดงทางธรรมเสมอๆ

         

35

ท่านแนะนำสอนธรรมะโดยไม่ดูกาละเทศะ

         

36

ท่านแน่ใจว่าไม่ลำเอียงเข้าข้างตน ในการตอบแบบประเมินในครั้งนี้

         

การอบรมครั้งนี้คะแนนเต็ม 100 คะแนน ท่านประเมินตนเองให้ คะแนน

35. แบบสอบถามเรื่องสุขภาพ แบบประเมินคนของแผ่นดิน หมายเลข 6