OFNT Home Page 5/5 OFNT Home Page Close

หน้าแรก >[04] กสิกรรม > คกร. > หลักสูตรสัจธรรมชีวิต

สารบัญ | โครงการ | ระเบียบการ | อุดมการณ์-ปรัชญา | หลักสูตร | เนื้อหา-กิจกรรม | ดำเนินการอบรม | ประเมินผล | กฎระเบียบพื้นฐาน | สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ | แผน-คู่มือฝึกอบรม

แผน-คู่มือฝึกอบรม 1-2-3-4-5-6-7

วันที่ 3 / 5  
วัน เดือน ปี เนื้อหา กิจกรรม วัตถุประสงค์ สื่อ อุปกรณ์ สถานที่ ผู้รับผิดชอบ ชื่อ วิธีการฝึกอบรม ประเมินผล
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบที่ 2/4
30 นาที
04.30 – 05.00
[ก-8] สวดมนต์ ทำวัตรเช้า -พิธีทำวัตรเช้า
-สวดมนต์แปลกิจกรรมเหมือน [ก-8] สวดมนต์ ทำวัตรเข้า คาบที่ 1/4 หน้า 20
เพื่อให้ผู้เรียนระลึกถึงธรรม ได้ดวงตาเห็นธรรม ขณะสวดมนต์ และเป็นการสร้างพุทธประเพณีของชาวพุทธ เกิดความสะอาด สว่าง สงบ ขึ้นในจิตใจในระหว่างทำพิธี ศาลาฟังธรรม
บทสวดมนต์แปล
[ส-12]
-สมณะ   -กล่าวนำ
-ปฏิบัติให้ดู
เป็นตัวอย่าง
-ตรงเวลา
-มาพร้อมพรั่ง
-นั่งสงบ
-ครบจำนวน-ศีลเด่น
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบที่ 3/8
60 นาที
05.00 – 06.00
[ก-9] ฟังธรรม (ธรรมะก่อนรุ่งอรุณ)สมณะบรรยายธรรมะก่อนรุ่งอรุณ เรื่อง ศีลนำสุขมาให้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเลื่อมใส ศรัทธา และเชื่อมั่นว่า การรักษาศีลให้บริสุทธิ์นั้น เป็นวิถีทางนำสุขมาให้ โสตทัศนูปกรณ์
[ส-2 (1)]
-สมณะ   บรรยายธรรม -ตรงเวลา
-มาพร้อมพรั่ง
-นั่งสงบ
-ครบจำนวน
  สมณะบรรยายธรรม เรื่อง ศีลนำสุขมาให้ ผู้มีศีลย่อมอยู่เป็นสุข อานิสงส์ของศีลที่เป็นกุศล คือ ทำให้มีโภคทรัพย์อันบริบูรณ์ (สีเลนะ โภคสัมปทา) ช่วยยกจิตวิญญาณให้สูงขึ้น และเมื่อตายจากโลกนี้ไปแล้ว จะไปสู่ภพภูมิที่ดี (สีเลนะ สุคติงยันติ) และเป็นเครื่องนำพาไปสู่ความพ้นทุกข์สิ้นเชิง (สีเลนะ นิพพุติงยันติ)
จบกิจกรรม กราบลาพระธรรมแบบเบญจางคประดิษฐ์ 3 ครั้ง (หลังจากสมณะ สามเณร สิกขมาตุ นาค กรักกราบเสร็จแล้ว ตามลำดับ)
      -จดบันทึก
-ไม่โงกง่วง-กราบได้พร้อม
เพรียง
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบที่ 2/4
30 นาที
06.00 – 06.30
[ก-28] กิจกรรมหน้าเสาธง
ร้องเพลงชาติ สวดมนต์ ปลุกเร้าให้นิยมไทย วิเคราะห์ข่าวเด่นข่าวดังประจำวัน
กิจกรรมเหมือน [ก-28] กิจกรรมหน้าเสาธง
คาบที่ 1/4 หน้า 22
-ตัวแทนกลุ่มออกมาวิเคราะห์ข่าว ว่ามีความน่าเชื่อถือ มีผลกระทบต่อศีลธรรมข้อใด อย่างไร วิธีแก้ไข ป้องกัน ส่งเสริม
-มอบหมายงานให้ไปหาข่าวมาวิเคราะห์ในวันถัดไป
เพื่อให้รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ อย่างสัมมาทิฏฐิ รู้เท่าทันข่าว สื่อเพื่อให้รู้จักวิเคราะห์
ข่าว
เพลงชาติ, เพลงคนสร้างชาติ, หนังสือพิมพ์, ภาพตัวอย่าง, เสียงตัวอย่าง -พิธีกร
-พี่เลี้ยง
-นันทนากร
  -บรรยาย
ประกอบสื่อ
-วิเคราะห์
-ตรงเวลา
-มาพร้อมพรั่ง
-นั่งสงบ
-ครบจำนวน
-ว่องไว
-ร่วมมือ
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบที่ 2/4
30 นาที
06.30 – 07.00
[ก-29] ปลุกจิตสำนึก บริหารกาย (วิ่ง โยคะ ไทเก็ก) 1. อุ่นร่างกายก่อนออกกำลัง (warming up)
2. นอกอาคาร (วิ่ง-เดิน นวดฝ่าเท้า สูดอากาศบริสุทธิ์)
3. ในอาคาร (โยคะ หรือ ไทเก็ก สัมพันธภาพระหว่างลมหายใจ กับท่วงท่า)กิจกรรมเหมือน [ก-29] ปลุกจิตสำนึก บริหารกาย
คาบที่ 1/4 หน้า 23
เพื่อเสริมสร้างร่างกาย และจิต ให้สัมพันธ์กัน เพื่อฝึกสติในการเดิน วิ่ง และให้เห็นคุณค่าของการถอดรองเท้า เทปวิดีโอแสดงท่าโยคะ และ ไทเก็ก -นันทนากร   -สาธิต แนะนำ
-ทำให้ดูเป็น
ตัวอย่าง
-สังเกต
-พร้อมเพรียง
-อดทน ว่องไว
-ครบจำนวน
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบที่ 2/3
120 นาที
07.00 – 09.00
[ก-11] เรียนรู้ด้วยการกระทำ ปฏิบัติกิจกรรมในพื้นที่
2. ปรับปรุงดินด้วยพืชสดคลุมดินปรับปรุงดินด้วยพืชสด หมายถึง การนำพืชสดที่เก็บเกี่ยวไว้ ไปกองไว้ในพื้นที่ หรือโคนต้นไม้ยืนต้นที่ต้องการจะให้ปุ๋ย แล้วราดรดด้วยน้ำหมักจุลินทรีย์ หมัก ทิ้งไว้ 10 – 15 วัน เพื่อให้จุลินทรีย์ย่อยสลายพืชสดให้เป็นปุ๋ยให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเลือกอุปกรณ์ เลือกพื้นที่ที่จะเก็บเกี่ยวพืชสด (หญ้า, พืชตระกูลถั่ว) ตามที่ศูนย์ฝึกอบรมจัดไว้ให้ ลงมือเก็บเกี่ยวพืชสดให้มากที่สุดมากองไว้ในบริเวณที่ตั้งกองปุ๋ย จากนั้นผู้เรียนแต่ละกลุ่มบอกสรรพคุณธาตุอาหารบำรุงดิน ที่มีอยู่ในพืชนั้น ก่อนราดรดด้วยน้ำหมักจุลินทรีย์
เพื่อปลูกฝังทัศนะใหม่ให้แก่ผู้เรียน ให้เห็นว่าวัชพืช ไม่ใช่ศัตรูของพืช แต่เป็นอาหารของพืช และเป็นวัสดุบำรุงดิน สามารถนำไปเป็นปุ๋ยพืชสดได้ โดยมีจุลินทรีย์เป็นตัวเร่งเพื่อฝึกทักษะในการทำปุ๋ยพืชสดจุลินทรีย์ในพื้นที่ เคียว, รถเข็น, เข่งใส่วัชพืช, มีดดายหญ้า,จอบ, กรรไกรตัดหญ้า,
น้ำหมักจุลินทรีย์, เครื่องฉีดพ่นน้ำหมัก, บัวรดน้ำ [ส-20]
เพลงงานหนักไม่เคยฆ่าคน [ส-36(2)]
-ปฏิบัติกร
-พี่เลี้ยง
-นักวิชาการ
  -สาธิต
-พาทำ
-อธิบาย แนะนำ
-ซักถาม
-สังเกต
-พร้อมเพรียง
-กระตือรือร้น
-มีคำถาม
-จดบันทึก-เป็นงาน
ชาญวิชา
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบที่ 2/3
30 นาที
09.00 – 09.30
[ก-20] วัฒนธรรมชุมชน สาธิต และ แสดงบทบาทสมมุติ หรือชมภาพวิดีโอ
2. เรื่อง วัฒนธรรมการรับประทานอาหาร[2] นักเรียนสัมมาสิกขา (เจ้าหน้าที่บริการ 5 ส.) แสดงบทบาทสมมุติ การกิน การบริโภคปัจจัยสี่ อย่างไร้ระเบียบ ตามใจปาก กินทิ้งกินขว้าง ขยะรกรุงรัง จนเป็นเหตุให้เกิดวัฒนธรรมการกินแบบบุญนิยม คือ กินข้าวกล้อง ถั่ว งา ผักไร้สารพิษ ผักพื้นบ้าน ผลไม้ตามฤดูกาล เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่บ้านใกล้เคียง แยกขยะเปียก ขยะแห้ง ขยะมลพิษ ขยะมีประโยชน์ให้ผู้ชมช่วยกันวิเคราะห์เหตุการณ์ในละคร หรือเหตุการณ์ในสารคดี ว่าเห็นคุณธรรมข้อใดบ้าง
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจ เห็นโทษภัยของการกินมาก ใช้มาก และตระหนักในความสำคัญของอาหารพื้นบ้าน ไร้สารพิษ และการแยกขยะและพร้อมที่จะนำไปประพฤติปฏิบัติที่บ้านได้ -โสตทัศนูปกรณ์
[ส-2 – 3]
-เวทีการแสดง
พิธีกร, นักเรียนสัมมาสิกขา, ผู้กำกับเวที, เจ้าหน้าที่เทคนิคแสง เสียง และโสตทัศนูปกรณ์, เจ้าหน้าที่ศิลปกรรม   แสดงบทบาทสมมุติ (โดย
นักเรียนสัมมาสิกขา) หรือ
ชมภาพวิดีโอ
-สังเกต
-พร้อมเพรียง
-อยู่ร่วมกิจกรรม
-ตอบคำถาม
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบที่ 4/8
60 นาที
09.30 – 10.30
[ก-9] ฟังธรรม (ธรรมะก่อนฉัน) สมณะบรรยายธรรมะก่อนฉัน เรื่อง
ศีลเด่น เป็นงาน ชาญชีวิต
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ ของการประพฤติปฏิบัติ ศีลเด่น เป็นงาน ชาญชีวิต นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้เมื่อกลับไปอยู่บ้าน โสตทัศนูปกรณ์
[ส-2 (1)]
-สมณะ   บรรยายธรรม -ตรงเวลา
-มาพร้อมพรั่ง
-นั่งสงบ
-ครบจำนวน
  สมณะบรรยายธรรม เรื่อง ศีลเด่น เป็นงาน ชาญชีวิต ชีวิตที่มีศีล เป็นชีวิตที่ปลอดภัย ผู้ใดประพฤติอยู่ในศีลธรรม ในระดับ “ศีลเด่น” แล้วแสวงหางานที่ไม่เป็นโทษ (งานในระดับโลกุตระ) งานจะเป็นบทฝึกหัดให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะวิชาชีพไปด้วย เรียนรู้การเอาชนะกิเลสไปด้วย เรียกว่า “เป็นงาน” ทำให้เกิดปัญญาฉลาดขึ้นในการเลือกเสพ คบคุ้น สิ่งที่อยู่รอบตัว ไม่ว่าจะเป็นวัตถุธรรม นามธรรม ยั่วยุมอมเมาหรือไม่ก็ตาม จิตย่อมรู้เท่าทัน เกิดความมี ความเป็น “ชาญชีวิต” จนพึ่งตนเองได้ ไม่ตกเป็นทาสทางวัตถุธรรม และโลกธรรมจบกิจกรรม กราบเคารพพระธรรม แบบเบญจางคประดิษฐ์ 1 ครั้ง       -กราบได้พร้อม
เพรียง
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบที่ 5/9
30-60 นาที
10.30 – 11.30
[ก-12] รับประทานอาหาร (มื้อกลางวัน วันที่ 3) 1. ตักอาหาร
2. พิจารณาก่อนรับประทานอาหาร
3. บทเรียนบนโต๊ะอาหาร (อาหารใจ อาหารกาย)กิจกรรม [1] [2] [3]
เหมือน [ก-12] รับประทานอาหาร คาบที่ 1/9 หน้า 14
เพื่อจัดระเบียบ
การรับประทาน, ตระหนักในคุณค่า,
ของมังสวิรัติ ชาวนา และพ่อครัว แม่ครัว
อุปกรณ์
[ส-2]
[ส-8 (1)]
[ส-21]
บทพิจารณาอาหาร [ส-13]
-พิธีกร
-นันทนากร
-พี่เลี้ยง
-เจ้าหน้าที่
-แม่ครัว
-หัวหน้ากลุ่ม
ชุดที่ 5 บรรยาย
ประกอบสื่อปฏิบัติให้ดูเป็น
ตัวอย่าง
“กินให้หมด
งดเสียงดัง
ลุกนั่งก็สะอาด”
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบที่ 5/9
15-30 นาที
11.00 – 11.30
[ก-13] ล้างจาน ล้างใจ (มื้อกลางวัน วันที่ 3) กิจกรรม [1] [2] [3]
เหมือน [ก-13] ล้างจาน ล้างใจ คาบที่ 1/9 หน้า 14
เพื่อให้ผู้เรียน รู้จัก
วิธีล้างจาน เป็นการสร้างวัฒนธรรมใหม่ของชาวบุญนิยม
ชุดอุปกรณ์ล้างจาน [ส-22] -พิธีกร
-จนท.บริการ 5ส.
-พี่เลี้ยง
-จนท.ประเมินผล
-หัวหน้ากลุ่ม
ชุดที่ 5 -สาธิต แนะนำ
-ทำตัวอย่างให้ดู
-เศษอาหารทิ้ง
-น้ำแรกสะอาด
-ล้างตามขั้นตอน
-แยกขยะถูกต้อง
วดป. (วันที่ 3)
....................

ตลอดเวลา
ตลอดวัน
[ก-24] การจัดระเบียบตนเอง การจัดระเบียบการแต่งกาย (เสื้อผ้า ผ้าพันคอ ป้ายชื่อ)
การจัดระเบียบร่างกาย (ผิวหนัง ผม ฟัน เล็บ)
การจัดระเบียบสุขอนามัย (กลิ่น ความเจ็บป่วย)กิจกรรม [ก-24] การจัดระเบียบตนเอง เหมือนวันที่ 2
หน้า 26
เพื่อสร้างวินัย และเป็นผู้เอาภาระสุขภาพตนเอง -ผ้าพันคอ
-ป้ายชื่อ
-พี่เลี้ยง
-เจ้าหน้าที่
ประเมินผล
-หัวหน้ากลุ่ม
ผู้เรียนทุกกลุ่ม
  อธิบาย ซักถาม -สังเกต
-สำรวจความ
เรียบร้อย
-พร้อมเพรียง
-ประเมิน 5 ส.
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบที่ 2/4
60 นาที
11.30 – 12.30
[ก-25] การจัดระเบียบบ้านพัก และบริเวณ ฝึกปฏิบัติ 5 ส.
เหมือนกิจกรรม [ก-25] การจัดระเบียบบ้านพัก และบริเวณ คาบที่ 1/4 หน้า 26
เพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติสำนึกกตัญญู 5 ส. อย่างเต็มใจ ละเอียด ถี่ถ้วน และปลูกฝังให้นำวิธีการของ 5 ส. ไปใช้ที่บ้านของตน บ้านพัก และอุปกรณ์ประจำบ้านพัก [ส-5] -เจ้าหน้าที่
บริการ 5 ส.
-เจ้าหน้าที่
ประเมินผล
-ผู้จัดการที่พัก
  ลงมือปฏิบัติ -พร้อมเพรียง
-ตรงเวลา
-ประเมิน 5 ส.
-ปรหยัดสุด
ประโยชน์สูง
วดป. (วันที่ 3)
....................
ตลอดเวลา
ตลอดวัน
[ก-26] การซักล้าง ฝึกปฏิบัติ 5 ส.
กิจกรรม [ก-26] การซักล้าง เหมือนวันที่ 2 หน้า 27
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสำนึกกตัญญูต่อที่พักอาศัย และเครื่องมือใช้สอย ถังพลาสติก ขัน ผงซักล้าง ราวตากผ้า [ส-5 (4)] -จนท.บริการ 5 ส.
-จนท.ประเมินผล
-ผู้จัดการที่พัก
  ลงมือปฏิบัติ -ประเมิน 5 ส.
-ปรหยัดสุด
ประโยชน์สูง
ในเรื่องการใช้น้ำ
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบที่ 2/4
60 นาที
ตรวจ :
16.00 – 17.00
รายงาน :
17.00 น.
[ก-27] ประเมินผล 5 ส. ประเมินผลด้านต่างๆ และ รายงานผลการประเมิน (คะแนน) ประจำวัน ดังนี้
1. การจัดระเบียบภายในบ้านพัก
2. การจัดระเบียบบริเวณบ้านพัก
3. การจัดระเบียบสถานที่อื่นๆ ภายในศูนย์ฝึก
ที่ผู้เรียนได้รับมอบหมายให้ทำ
4. การจัดระเบียบเสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม ร่างกาย
5. การจัดระเบียบล้างจาน
6. ประโยชน์สูง – ประหยัดสุดกิจกรรมเหมือน [ก-27] ประเมินผล 5 ส. คาบที่ 1/4
หน้า 27
เพื่อฝึกสร้างนิสัยที่ดี ในการรักษาสิ่งแวดล้อม มีระเบียบวินัย รู้จักพึ่งตน และรู้สำนึกกตัญญูต่อที่อยู่อาศัย -รถจักรยาน
-แบบประเมินผล
5 ส. [ส-31]
-กระดานป้าย
-เจ้าหน้าที่
บริการ 5 ส.
-เจ้าหน้าที่
ประเมินผล
-พิธีกร
  ตรวจเยี่ยม ให้คะแนน ตามแบบประเมินผล
สำนึกกตัญญู
5 ส.
คะแนนรวม (ทั้งรุ่น) ผ่านเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า 70%คะแนนกลุ่ม
ผ่านเกณฑ์
ไม่น้อยกว่า 80%
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบละ
5-10 นาที
[ก-18] เตรียมความพร้อม กิจกรรมแทรกตามควาเหมาะสม ไม่จำกัดจำนวนครั้งกิจกรรมเหมือน [ก-18] เตรียมความพร้อม หน้า 16 เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้เรียน -[ส-2 (1)]
-เพลงคนสร้างชาติ
[ส-36 (1)]
–พิธีกร
–นันทนากร
  -อธิบาย
-สาธิต
-พร้อมเพรียง
-ร่วมมือ
-ทันเวลา
-ว่องไว
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบที่ 1/1
30 นาที
12.30 - 13.00
[ก-16] เพาะถั่วงอกในถังเพาะ -การคัดเลือกเมล็ดถั่วสำหรับเพาะ
-การเตรียมวัสดุสำหรับเพาะ
-วิธีการเพาะถั่วงอก และการเก็บเกี่ยว
-คุณค่าทาง โภชนาการ, ทางยาอธิบายวิธีคัดเลือกเมล็ดถั่วสำหรับเพาะ การเตรียมถังพลาสติกสำหรับเพาะ วิธีการเพาะ การบำรุงดูแล ให้น้ำ การเก็บเกี่ยวผลผลิต คุณค่าทางโภชนาการ และคุณค่าทางยา
เพื่อให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ นำถั่วที่แช่น้ำค้างคืน ลงถังเพาะ ให้น้ำวันละ 3 ครั้ง เก็บในที่มืด แห้ง และสะอาด เป็นเวลา 3 วัน จะได้ถั่วงอกตามต้องการ นำไปประกอบอาหารได้ -ถังพลาสติกทึบพร้อมฝาปิด ขนาดปริมาตรความจุ 1 แกลลอน เจาะรูที่ก้นถัง ด้วยสว่านเบอร์ 3.2 จำนวน 12 รู
-เมล็ดถั่วเขียวแห้งใหม่ หนัก 150 กรัม
-กะละมังสำหรับแช่เมล็ดถั่วเขียว [ส-28]
พิธีกร, ปฏิบัติกร, พี่เลี้ยง   -สาธิต
-อธิบาย
-ปฏิบัติได้ถูกต้อง
ตามขั้นตอน
-ถั่วงอกเมื่อครบ
กำนหด
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบที่ 1/1
90 นาที
13.00 - 14.30
[ก-3] ระบบนิเวศ -ความหมายของระบบนิเวศ
-สมาชิกของระบบนิเวศ
-การสร้างระบบนิเวศ
-ลักษณะและคุณประโยชน์ของจุลินทรีย์ในพื้นที่ (ราใบไม้สีขาว หรือ IMO)
-วิธีทำน้ำหวานหมักจากพืชสดสีเขียว
-วิธีทำน้ำหวานหมักจากผลไม้
-วิธีทำหัวเชื้อดินจุลินทรีย์หมัก (ดิน IMO)
-วิธีนำน้ำหวานหมักและหัวเชื้อดินจุลินทรีย์ไปใช้
-โสตทัศนูปกรณ์
[ส-2 (1)]
-แผนภูมิระบบนิเวศ
[ส-14 (1) (2) (3)]
-วัสดุสำหรับการ
สาธิตปฏิบัติการ
IMO [ส-15 - 18]
-ความรู้พื้นฐานเรื่อง
จุลินทรีย์ [ส-19]
-ปฏิบัติกร
-นักวิชาการ
รศ.อาภรณ์
ภูมิพันนา
และ คณะ
-บรรยาย
ประกอบสื่อ
-ซักถาม
-สัมภาษณ์
-สร้างเจตนคติ
และค่านิยม
-สังเกต
-มีคำถาม
-ร่วมกิจกรรม
-จดบันทึก-เป็นงาน
-ชาญวิชา
  [1] อธิบายความหมายของระบบนิเวศ สมาชิกของระบบนิเวศ สาเหตุของการทำให้ระบบนิเวศสูญเสียไป เพื่อให้มองเห็นวิถีทางในการฟื้นฟูระบบนิเวศให้กลับคืนมาดีดังเดิม        
  [2] อภิปรายวิธีสร้างระบบนิเวศขึ้นมาใหม่ บรรยายวิธีฟื้นฟูระบบนิเวศอย่างถูกหลักวิชาการ คือ ลักษณะและคุณประโยชน์ของจุลินทรีย์ในพื้นที่ (ราใบไม้สีขาว) การทำน้ำหวานหมักจากพืชสดสีเขียว การทำน้ำหวานมหักจาก ผลไม้ การทำหัวเชื้อดินจุลินทรีย์หมัก (ดิน IMO) และการนำน้ำหวานหมักและ หัวเชื่อดินจุลินทรีย์ไปใช้ในพื้นที่กสิกรรม เพื่อให้เกิดความเข้าใจในขั้นตอนและกระบวนการในการลงมือปฏิบัติจริง       -จดบันทึก
-เป็นงาน
-ชาญวิชา
  [3] สาธิตการทำน้ำหวานหมักจากพืชสดสีเขียว การทำน้ำหวานหมักจากผลไม้ การทำหัวเชื้อดินจุลินทรีย์หมัก
(ดิน IMO)
เพื่อให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงได้อย่างถูกต้อง        
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบที่ 1/1
120 นาที
14.30 - 16.30
[ก-15] ปฏิบัติการ IMO สาธิตและฝึกปฏิบัติ (ต่อจากระบบนิเวศ) 1. น้ำหวานหมักจากพืชสีเขียว
2. น้ำหวานหมักจากผลไม้
3. หัวเชื้อดินหมักจุลินทรีย์
4. น้ำหมักจุลินทรีย์
  ความรู้พื้นฐานเรื่องจุลินทรีย์ โดย รศ.อาภรณ์ ภูมิพันนา [ส-19] เพลงงานคือชีวิต พิธีกร, ปฏิบัติกร, นักวิชาการ ด้านเกษตรอินทรีย์   -สาธิต แนะนำ
-ทำตัวอย่างให้ดู
-ซักถาม
-สัมภาษณ์
-ปฏิบัติตามได้
-มีส่วนร่วม
-มีคำถาม
-จดบันทึก
-เป็นงาน
  [1] บรรยายและสาธิต ขั้นตอน การทำ น้ำหวานหมักจากพืชสดสีเขียว ขั้นตอนการทำ ตามสื่อลำดับที่ 15 (2) เพื่อให้ผู้เรียนนำไปฝึกปฏิบัติจริงตามฐานงานที่มอบหมาย อุปกรณ์ทำน้ำหวานหมักจากพืชสีเขียว [ส-15 (1)] ปฏิบัติกร สาธิต
ประจำฐาน
  สาธิต แนะนำ  
  [2] รรยายและสาธิต ขั้นตอน การทำ น้ำหวานหมักจากผลไม้ ขั้นตอนการทำ ตามสื่อลำดับที่ 16 (2) เพื่อให้ผู้เรียนนำไปฝึกปฏิบัติจริงตามฐานงานที่มอบหมาย อุปกรณ์การทำน้ำหวานหมักจากผลไม้ [ส-16 (1)] ปฏิบัติกร สาธิต
ประจำฐาน
  สาธิต แนะนำ  
  [3] รรยายและสาธิต ขั้นตอน การทำ หัวเชื้อดินหมัก IMO ขั้นตอนการทำ ตามสื่อลำดับที่ 17 (2) เพื่อให้ผู้เรียนนำไปฝึกปฏิบัติจริงตามฐานงานที่มอบหมาย อุปกรณ์การทำหัวเชื้อดินหมักจุลินทรีย์ [ส-17 (1)] ปฏิบัติกร สาธิต
ประจำฐาน
  สาธิต แนะนำ  
  [4] บรรยายและสาธิต ขั้นตอน การผสม น้ำหมักจุลินทรีย์ IMO ขั้นตอนการทำ ตามสื่อลำดับที่ 18 (2) เพื่อให้ผู้เรียนนำไปใช้ในไร่นาสวนของตน อุปกรณ์การทำน้ำหมักจุลินทรีย์สำหรับฉีดพ่น [ส-18 (1)] ปฏิบัติกร สาธิต
ประจำฐาน
  สาธิต แนะนำ  
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบที่ 6/9
30-60 นาที
17.00 – 18.00
[ก-12] รับประทานอาหาร (มื้อเย็น วันที่ 3) 1. ตักอาหาร
2. พิจารณาก่อนรับประทานอาหาร
3. บทเรียนบนโต๊ะอาหาร (อาหารใจ อาหารกาย)กิจกรรม [1] [2] [3]
เหมือน [ก-12] รับประทานอาหาร คาบที่ 1/9 หน้า 14
เพื่อจัดระเบียบ
การรับประทาน, ตระหนักในคุณค่า,
ของมังสวิรัติ ชาวนา และพ่อครัว แม่ครัว
อุปกรณ์
[ส-2]
[ส-8 (1)]
[ส-21]
บทพิจารณาอาหาร [ส-13]
-พิธีกร
-นันทนากร
-พี่เลี้ยง
-เจ้าหน้าที่
-แม่ครัว
-หัวหน้ากลุ่ม
ชุดที่ 6 บรรยาย
ประกอบสื่อปฏิบัติให้ดูเป็น
ตัวอย่าง
“กินให้หมด
งดเสียงดัง
ลุกนั่งก็สะอาด”
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบที่ 6/9
15-30 นาที
17.30 – 18.00
[ก-13] ล้างจาน ล้างใจ (มื้อเย็น วันที่ 3) กิจกรรม [1] [2] [3]
เหมือน [ก-13] ล้างจาน ล้างใจ คาบที่ 1/9 หน้า 14
เพื่อให้ผู้เรียน รู้จัก
วิธีล้างจาน เป็นการสร้างวัฒนธรรมใหม่ของชาวบุญนิยม
ชุดอุปกรณ์ล้างจาน [ส-22] -พิธีกร
-จนท.บริการ 5ส.
-พี่เลี้ยง
-จนท.ประเมินผล
-หัวหน้ากลุ่ม
ชุดที่ 6 -สาธิต แนะนำ
-ทำตัวอย่างให้ดู
-เศษอาหารทิ้ง
-น้ำแรกสะอาด
-ล้างตามขั้นตอน
-แยกขยะถูกต้อง
-เป็นงาน
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบที่ 3/3
10-15 นาที
18.00 น.
[ก-23] สาระบันเทิง เรื่อง งานหนักไม่เคยฆ่าคน นักเรียนสัมมาสิกขา แสดงละครเพลง เรื่อง
งานหนักไม่เคยฆ่าคน
เพื่อกระตุ้นให้ผู้ชมเกิด กำลังใจ และ ยินดีในการทำงานหนัก เพราะการทำงานหนัก คือ
ดอกไม้บานของชีวิต
-โสตทัศนูปกรณ์
[ส-2 - 3]
-เพลงงานหนักไม่เคย
ฆ่าคน
-เครื่องแต่งกาย และ
อุปกรณ์การแสดง
-พิธีกร,
-นักเรียนสัมมา
สิกขา
ชุดที่ 3 -แสดงละคร
-สร้างเจตนคติ
และค่านิยม
-สังเกต
-พร้อมเพรียง
-มีส่วนร่วม
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบที่ 5/6
คาบที่ 6/6
120 นาที
18.00 – 20.00
[ก-22] วิปัสสนาจอแก้ว (รายการภาคค่ำ) ชุด ปาฏิหาริย์แห่งการทำจริง
-วิดีทัศน์ “30 ปีแห่งการงาน” (60 นาที) และ
-ภาพยนตร์การพัฒนาชุมชนประเทศเกาหลี (60 นาที)ความหมาย, ประเภทของสื่อวิดีทัศน์, แนวทางการคัดเลือกสื่อ, สื่อวิดีทัศน์ต้องห้าม, จุดประสงค์ 4 ประการของการดูวิดีทัศน์, วิธีการจัดกิจกรรม, การวัดผลประเมินผลหลังการดู, องค์ประกอบของวิปัสสนาจอแก้ว
-เครื่องเล่น VCD, DVD, -คอมพิวเตอร์ -วิดีทัศน์ ชุดปาฏิหาริย์
แห่งการทำจริง
[ส-2 (1) (3), 3 (1) (3)]
-สมณะ
-พิธีกร
-นันทนากร
  สนทนาธรรม
ซักถาม
วิปัสสนาจอแก้ว
สร้างเจตนคติและค่านิยม
-สังเกต
-ตั้งใจ
-มีคำถาม
-ร่วมกิจกรรม
  [1] บรรยายสรุป เกี่ยวกับประวัติ และผลงานของพ่อท่านสมณะโพธิรักษ์ ประกอบวิดีทัศน์ “30 ปี แห่งการงาน” เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และเกิดความเลื่อมใส ศรัทธา ในแนวทาง และกระบวนการของชาวอโศก      
  [2] อธิบายความหมายของวิปัสสนาจอแก้ว ประเภทของสื่อ
วิดีทัศน์ แนวทางการคัดเลือกสื่อให้ผู้เรียนดู สื่อวิดีทัศน์ต้องห้าม จุดประสงค์ 4 ประการของการดูวิดีทัศน์ และวิธีการจัดกิจกรรม ตลอดจน การวัดผลประเมินผล หลังการดู
เพื่อสร้างสัมมาทิฐิให้แก่ผู้เรียน ในการนำสื่อ วิดีทัศน์มาเป็นนวัตกรรมในการเผยแพร่คำสอนทางศาสนา การพัฒนาคุณภาพชีวิต
ให้แก่บุคคล กลุ่ม องค์กร
    วิจารณ์
-เนื้อเรื่อง
-ตัวละคร
-ผลกระทบทางศีลธรรม
  1. ประเภทของสื่อวิดีทัศน์ที่กำหนดให้ดู มี 3 ประเภท คือ ประเภทสารคดี (โลกธรรม) ประเภทธรรมดคี (โลกุตระธรรม) ประเภทบันเทิงคดี ที่เน้นสัจจะ อุดมการณ์ จินตนาการ ในทางสร้างสรร 2. สื่อวิดีทัศน์ ที่ห้ามดูเด็ดขาด (สื่อแนวราคะ - โลภะ (หนังรัก) สื่อแนวโทสะ (หนังบู๊ ล้างผลาญ) สื่อแนวโมหะ (หนังผี ผีหลอก วิญญาณหลอน))3. จุดประสงค์ 4 ประการ ของการดูวิดีทัศน์ (เกิดอริยญาณ ทำการปฏิบัติ อัดพลังกุศล ฝึกฝนโลกะวิทู – เพิ่มพหูสูต)4. องค์ประกอบของกิจกรรมวิปัสสนาจอแก้ว (ประสิทธิภาพในการสื่อ การคัดเลือกเรื่อง การชี้แนะ ให้แง่คิดทางธรรมะ และการรับรู้ของผู้เรียน)    
  วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้รู้จักเลือกสรรดูรายการที่มีสาระ มีประโยชน์ต่อการเรียน การทำงาน และการปฏิบัติธรรม
2. เพื่อนำระบบวิดีทัศน์ โทรทัศน์ แผ่นบันทึกวิดีโอ (VCD, DVD) มาเป็นเครื่องมือฝึกปฏิบัติลดละกิเลส เพิ่มปัญญาญาณให้แก่ผู้ชม
3. เพื่อนำสารคดีบันเทิง มาปรับปรุงเป็นนวัตกรรมเพื่อการสอนศาสนา (การประยุกต์วิธีการใหม่ในการศึกษาธรรมะ)
4. เพื่อเป็นการเสริมกำลังใจในการเรียน และการทำงาน
5. เพื่อผ่อนคลายความตึงเครียด
6. เพื่อใช้เป็นเงื่อนไขในการปรับปรุงและพัฒนาลักษณะนิสัยของผู้ชม
   
วดป. (วันที่ 3)
....................
คาบที่ 3/4
30 นาที
20.00 – 20.30
[ก-10] สวดมนต์ – นั่งสมาธิ ก่อนนอน –สวดมนต์
–สมาธิพุทธ สมาธิฤาษี กิจกรรม เหมือน [ก-10] คาบที่ 1/4
หน้า 19กราบลาสมณะ แบบเบญจางคประดิษฐ์
1 ครั้ง
เพื่อให้ผู้เรียนระลึกถึงธรรม ได้ดวงตาเห็นธรรม ในขณะสวดมนต์ และเป็นการสร้างพุทธประเพณีของชาวพุทธ เกิดความสะอาด สว่าง สงบ ขึ้นในจิตใจในระหว่างทำพิธี
เพื่อแสดงความอ่อนน้อม และสำนึกกตัญญู
บทสวดมนต์แปล
[ส-12 (1) (2) (3) (4) (5) (6) (8)]
-สมณะ   -นำกล่าว
-ปฏิบัติให้ดู
เป็นตัวอย่าง
-สังเกต
-พร้อมเพรียง
-ครบจำนวน
-กราบได้พร้อม
เพรียง
วัน เดือน ปี
....................
คาบที่ 4/6
90 นาที..................น.
[ก-34] ประชุมคนสร้างชาติ (ประชุมระหว่างงาน) ประชุมเจ้าหน้าที่ศูนย์ฝึก และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง หลังเสร็จสิ้นกิจกรรมของแต่ละวัน กิจกรรม เหมือน [ก-34] ประชุมคนสร้างชาติ คาบที่ 2/6
หน้า 19
-เพื่อประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่ ,การดำเนินกิจกรรมตามแผน, แก้ไข เปลี่ยนแปลง -โสตทัศนูปกรณ์
-สถานที่ประชุม

สมณะ
เป็นประธาน
ผอ.ศูนย์ฝึก
ดำเนินการประชุม

  หัวหน้างาน
ชี้แจง ปัญหา อุปสรรค และ
ข้อเสนอแนะ
สิ่งดีควรรักษา
สิ่งบกพร่องควรแก้ไขประเมินคุณภาพ
บุคลากรศูนย์ฝึก-ประโยชน์ตน
ประโยชน์ท่าน-ประหยัดสุด
ประโยชน์สูง-ไม่พัก ไม่เพียร-ทิฐิ อัตตา